การบริหารจังหวัดภูเก็ตเพื่อการการพัฒนา
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214781คำสำคัญ:
การบริหาร, การพัฒนา, จังหวัดภูเก็ตบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจังหวัดภูเก็ตในปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในปัจจุบันของการบริหารจังหวัดภูเก็ต 3)เพื่อนำเสนอการบริหารที่เหมาะสมในการบริหาร
จังหวัดภูเก็ต เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้การทบทวนวรรณกรรม และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)จากผู้ให้ข้อมูล 22 คน นำผลที่ได้มาทำการสนทนากลุ่ม
(Focus Group) จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15 คน ซึ่งผลการวิจัยพบว่าในการบริหารภูเก็ตมีองค์ประกอบด้วยกันหลายปัจจัย สภาพและมีปัญหาอยู่ด้วยกันหลายด้าน ซึ่งแนวทางในการบริหาร
ภูเก็ตเพื่อการพัฒนามีชื่อเรียกว่า “THE GREAT PEARL” เดอะเกรทเพิร์ล โดยมี 1) T แทนค าว่าTeam Leader หมายถึง ผู้บริหารที่ดี 2) H แทนคำว่า High up Sustainable Development
หมายถึงแนวคิดการพัฒนาแบบยั่งยืน 3) E แทนคำว่า ว่า Enable to Build Understanding for The provincial Department Quality หมายถึง การสร้างความเข้าใจร่วมกับคณะกรมการจังหวัดร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ 4) G แทนคำว่า Good Governance หมายถึงนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหาร 5)R แทนคำว่า Regulation by Laws หมายถึง ให้มีการพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง 6) E
แทนคำว่า Efficiency Administration by Oneself หมายถึง การบริหารตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ7) A แทนคำว่า Assurance Security หมายถึง หลักประกันและความปลอดภัย 8) T แทนคำว่า Tax Administration หมายถึง ควรบริหารภาษี 9) P แทนคำว่า Participation and Collaboration หมายถึงการร่วมมือแบบมีส่วนร่วม 10) E แทนคำว่า Effective Transportation system หมายถึง
การพัฒนาระบบคมนาคม 11) A แทนคำว่า Audit Government sector หมายถึง การตรวจสอบภายในของรัฐ 12) R แทนค าว่า (Results of Efficiency Administrative) หมายถึง ผลจากการบริหาร
อย่างมีประสิทธิภาพ 13) L แทนคำว่า Leader for Changes หมายถึงผู้นำการเปลี่ยนแปลง
References
imperatives: Lessons from some
Asian countries. Journal of
International Cooperation Studies,
12(1).
Ernest W. Burgess ,(2008)The Growth of
the City: An Introduction to a
Research Project.
Robson, W. A. (1953). Local government
in Encyclopedia of Social Science.
New York: The Macmillan.
Wilson, D. & Game, C. (1998). Local
government in the United
Kingdom (2nd ed.). London:
Macmillan Press.
Translated Thai References
Chaowalit, S. ( 1 9 9 3) . Pattaya
Development Administration:
Model should to be. Thesis of
Development Administration
Doctorate. Faculty of Political and
Administrative Science: Bangkok:
National Institute of Development
Administration
Deewattanakul, P. (2006) .Bangkok
Administration : Study
development on appropriate
model. Dissertation of Political and
Administrative Science. Graduate
College. Bangkok:Suandusit
Ratchabhat University.
Hanyuth,S. (2011). Appropriate local
administration Organization model
and Thailand context,Eastern
University Journal. 2nd year vol. 2 July
– December, 2012.
Kanjak, S. (2014). Pattaya: From living of
fisherman to world tourism city
Doctorate dissertation, Thai studied
program. Faculty of Humanities and
social Science Chonburi:Burapa
University.
Keelin, P.(2014).Patong Development
Administration :Appropriate Model.
Political and Administrative
Science Doctorate. Graduate College
Phuket : Phuket Ratchabhat
University.
Local Administrative Promotion Department
(2009) Essence of Thai Local.
Bangkok: The Agricultural
Co-Operative Federation of Thailand.
Local Administrative Promotion
Department. (2012). Data of Local
Administrative Organization
Number.Date of searching 1 October,
2014, Access from
http://.www.dla.go.th/work/
abt/index.jsp.
Puangngam, K.(2005). Thai Local
Governance : Principle and new
dimension in the future. Printed 5th
.Bangkok : Reasonable man.
Suwanmongkol, P.(2011). Decentralization:
Idea and experienced from Asia.
Bangkok: Juralongkorn University
Library Center.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว