ปัจจัยที่มีผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานในองค์การ กรณีศึกษา บริษัทโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)

ผู้แต่ง

  • สุภาพร เท่าบุรี
  • ประสพชัย พสุนนท์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214809

คำสำคัญ:

ปัจจัย, ความจงรักภักดี, โตโย-ไทย, องค์การ

บทคัดย่อ

           การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาระดับความจงรักภักดีต่อองค์การ 2) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน และ 3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความจงรักภักดีที่มีผลต่อองค์กา
รของพนักงานปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ระดับต าแหน่งงานเงินเดือน อายุการท างาน และสายงานที่สังกัด บริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จ ากัด (มหาชน) จ านวน
348 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One - Way ANOVA) ค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันโพรดักโมเมนต์(Pearson product moment correlationcoefficient) และ การวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ ( Multiple Regression Analysis)

          ผลวิจัยพบว่า 1) พนักงานของบริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จ ากัด (มหาชน) มีความจงรักภักดีต่อองค์การในระดับมาก (X= 3.572, S.D. = 0.208) 2) พนักงานของบริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น
จ ากัด (มหาชน) มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในระดับมาก (X= 3.485 , S.D.= 0.171) และ 3) ผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า 1. พนักงานของบริษัท โตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จ ากัด ที่มีเพศ อายุ
สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งงาน เงินเดือน อายุการทำงาน และสายงานที่สังกัดแตกต่างกัน มีความจงรักภักดีต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผล
การวิเคราะห์สมการการถดถอยอย่างง่าย แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานมีผลต่อความจงรักภักดีของพนักงาน ร้อยละ10.40

References

Anlimphan, S. (2011). The Factors Those
have an Effect to The Consumer
Loyalty of A Motorcycle Parts
Business in Amphur Muang
Lampang. Independent Study in
Faculty of Economics. Chiang Mai
University.
Baron, RA (1986). Behaviour in
Organizations. Boston : Allyn And
Bacon Inc.
Chester Barnard. (1938). The functions of
the executive. Cambridge,
Massachusetts: Harvard University
Press.
Chotivanich , P Rungsrisawat, S and
Pungnirund, B . (2014). Loyalty
Building Model of Using Flight
Servece of Thai Airways
International (Public Company
Limited). Thesis in Doctor of
Business Administration.
Suansunandha Rajabhat University.
Kabinritthiwat, T. (2014) Motivation
Relating to Thai Employees
Loyalty on Japanese
Transnational Companies in
Bangkok Metropolis and Vicinity
Area. Thesis in Master of Business
Administration. Srinakharinwirot
University.
Manhasap, A. (2011) The Relationship
between Attitude toward The DeBureaucration and Loyalty to The
Organization of The Supporting
Staff at Siriraj Hospital.
Independent Study in Master of
Arts. Silpakorn University.
Muangrung, S.(2009) Factors Relating to
Organizational Loyalty: A Case of
Airports of Thailand Public
Company Limited. Thesis in
Master of Business Administration.
Rajamangala University of
Technology Thanyaburi.
Ouyphon, S. (2007). The Relationships
between Motivation and
Organizational Commitment of
Operator Case Study of
Electronics Manufacturing. Thesis
in Master of Business
Administration. Rajamangala
University of Technology
Thanyaburi.
PeterM.Blua and W. Reichard Scotts.
(1962). Formal organizations. San
Francisco: Chandler publishing.
Polpanich, K. (2540) Factors Affecting
Organizational Commitment of
Marketing Supervisory Staffs :
The Siam Cement Public Co.,
Ltd.. Thesis in Master of Science
(Industrial Psychology). Kasetsart
University.
Steers, R.M. and Porter, L.W. (1983).
Employee Organization linkages :
the Psychology of Commitment
absenteeism and turnover.
Thongrod, A. (2013). Factor in Fluencing
Working Performance of
Personnel at Eastern Asia
University. Thesis in Master of
Business Administration.
Rajamangala University of
Technology Thanyaburi.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-06-2018

How to Cite

เท่าบุรี ส., & พสุนนท์ ป. (2018). ปัจจัยที่มีผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานในองค์การ กรณีศึกษา บริษัทโตโย-ไทย คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน). วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214809