ปัจจัยพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ ชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • สามารถ ใจเตี้ย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อมชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • ศศิกัญญ์ ผ่องชมพู ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อมชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • วิทญา ตันอารีย์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อมชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • เอกลักษ์ ชมพูศรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะลวงนอก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250372

คำสำคัญ:

ปัจจัยพยากรณ์, สมุนไพรพื้นบ้าน, ผู้สูงอายุ, จังหวัดเชียงใหม่

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงผสมผสานนี้ศึกษาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ และพยากรณ์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60 – 95 ปี ในชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 177 คน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 8 คน รวมรวบข้อมูลโดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีการใช้สมุนไพรพื้นบ้านโดยรวมระดับน้อย (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.98) และเมื่อวิเคราะห์อำนาจการพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ มีตัวแปรที่สามารถอธิบายความผันแปรการใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ 2 ตัวแปรย่อย ได้แก่ อายุ และการรับรู้ประโยชน์สมุนไพรพื้นบ้าน โดยร่วมกันพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 42.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทั้งนี้ควรส่งเสริมความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในผู้สูงอายุ

References

Bhoyen, K. (2019). Aging society: Opportunities for the future sustainable business. Journal of Management Science Review, 21(1), 201-209. (in Thai)

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3), 297–334.

Daniel, W. W. (2013). Biostatistics: Basic concepts and methodology for the health sciences (9th ed.). New York: John Wiley & Sons.

Jaitae, S. (2019). Elderly society health promoting in Thailand 4.0 age. Journal of Health Science, 28 (Supplement 2), S185 -S194. (in Thai)

Jaitae, S., Rattanapunya, S., Seangsoda, W., & Jumkead, D. (2019). Traditional herbal utilization for elderly health promotion in Suthep municipality, Muangchiangmai District, Chiangmai Province. Journal of Science and Technology Mahasara- kham University, 38(6), 613-618. (in Thai)

Jaitae, S., Sukseeton, N., Junta, J., & Vipawin, C. (2020). Elderly persons’ knowledge of and needs for health promotion based on lanna local wisdom under, Saluang Subdistrict administrative organization, Mae Rim District, Chiang Mai Province. Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine, 18(2), 372-379. (in Thai)

Joshi, A., Kale, S., Chandel, S., & Pal, D. K. (2015). Likert scale: Explored and explained. British Journal of Applied Science & Technology, 7(4), 396–403.

Mattavangkul, C., Kawitu, K., Deenoo, S., & Sinwannakool, S. (2019). Factor related to herbal use behavior for self-care among people in Phasi-Chareon District. Journal of Nursing, Siam University, 20(39), 99-109. (in Thai)

Sacket, K., Carter, M., & Stanton, M. (2014). Elders’ use of folk medicine and complementary and alternative therapies. Professional Case Management, 19(3), 113 - 123. (in Thai)

Sukolpuk, M., & Boonchuaythanasit, K. (2017). Health dimension of active ageing: A systematic review. Journal of Health Science Research, 11, 53-63. (in Thai)

Suksritong, N. (2017). Lana local wisdom for health promotion of elderly in Saluang subdistrict administative organization, Mae Rim District, Chiangmai Province.Christain University of Thailand Journal, 23(2), 164–173. (in Thai)

Sumngern, C., Azeredo, C., Subgranon, R., Matos, E., & Kijjoa, A. (2011). The perception of the benefits of herbal medicine consumption among the Thai elderly. Journal of Nutrition, Health & Aging, 15(1), 59 – 63.

United Nation. (2020). World population ageing 2020 highlights. Retrieved March 18, 2021, from https://www.un.org.development.desa.pd/files/files/documents/2020/Sep/un_pop_20

World Health Organization. (2020). Global health and aging. Retrieved March 18, 2021, from https://www.who.int/ageing/publications/global_health.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-12-2021

How to Cite

ใจเตี้ย ส. ., ผ่องชมพู ศ. . ., ตันอารีย์ ว. . ., & ชมพูศรี เ. . . (2021). ปัจจัยพยากรณ์การใช้สมุนไพรพื้นบ้านของผู้สูงอายุ ชุมชนสะลวง – ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 13(2), 43–54. https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250372