แรงจูงใจภายในและภายนอกที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน แบบ Remote Working ในช่วงการระบาดของ COVID-19

ผู้แต่ง

  • นิรมล พวงมาลัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • ปิยะรัตน์ จันทรยุคล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250977

คำสำคัญ:

แรงจูงใจภายใน, แรงจูงใจภายนอก, ประสิทธิภาพการทำงาน, การทำงานระยะไกล, COVID-19

บทคัดย่อ

การศึกษาแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working ในช่วงการระบาดของโควิด 19 พิจารณาถึงแรงจูงใจภายในและแรงจูงใจภายนอกที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพ และวิเคราะห์ถึงแรงจูงใจภายในและภายนอกร่วมมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working ในช่วงการระบาดของ COVID-19 ใช้แบบสอบถามผ่านช่องทางออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่ปัจจุบันมีงานประจำในองค์กรและเคยได้รับคำสั่งจากองค์กรให้ทำงานแบบ Remote Working จำนวน 385 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาวิเคราะห์ระดับความคิดเห็น พบว่าแรงจูงใจภายในกับการทำงานแบบ Remote Working มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับมาก และแรงจูงใจภายนอก เรียง 3 ลำดับแรก คือ หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน สภาพแวดล้อม/เทคโนโลยี สถิติเชิงอนุมานที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณในระดับความเชื่อมั่น 95% พบว่า 1. แรงจูงใจภายในอธิบายความแปรผันที่เกิดขึ้นกับประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working ได้ร้อยละ 31.40 และแรงจูงใจภายในมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working 2. แรงจูงใจภายนอกอธิบายความแปรผันที่เกิดขึ้นกับประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working ได้ร้อยละ 40.70 และแรงจูงใจภายนอกมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working 3. แรงจูงใจภายในและภายนอกอธิบายความแปรผันที่เกิดขึ้นกับประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working ได้ร้อยละ 40.70 แรงจูงใจภายในและภายนอกร่วมมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working อีกทั้งพบว่าแรงจูงใจภายในมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานแบบ Remote Working มากกว่าแรงจูงใจภายนอกเมื่อพนักงานต้องทำงานในสถานที่อื่น ๆนอกเหนือจากภายในองค์กรในช่วงการระบาดของ COVID-19

References

Chompukum, P., & Chakrapeesirisuk, N. (2020). Factors affecting job satisfaction and motivation: A case comparison of generation Y and generation Z in Bangkok. Chulalongkorn Business Review, 42(3), 1-18. (in Thai)

Cochran, W. G. (1953). Sampling techniques. New York: John Wiley & Sons.

Gagne, M., & Deci, E. L. (2005). Self-determination theory and work motivation. Journal of Organizational Behavior, 26(4), 331 – 362.

Gillmer, V. B. (1967). Industrial and organization psychology. New York: McGraw-Hill.

Junjunan, I. M. (2021). Working during the pandemic: the effect of work passion on happiness at work while working at home during the Covid-19 pandemic. In Sukono, M. Mamat, B. Foster, H. D. M. Ma'soem, and A. Aziz Abdullah (Eds.), Proceeding of First International Conference on Science, Technology, Engineering and Industrial Revolution (ICSTEIR 2020) (pp. 65-69). Indonesia: Atlantis Press.

Kaewpetch, C., & Nakphin, S. (2019). Comparison of hotel employee’s work motivation between Thailand and other countries. Executive Journal, 39(1), 36-51. (in Thai)

Kinicki, A., & Fugate, M. (2018). Organizational behavior: A practical, problem-solving approach (2nd ed.). Singapore: McGraw-Hill Education.

Kongprasert, N., & Puangyanee, S. (2017). Factors affect to work happiness of employees Rojana industrial in Ayutthaya. Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University, 9(2), 184-195. (in Thai)

Nambuddee, W., Zumitzavan, V., & Narrot, P. (2017). Happy work motivation of Khon Kaen municipality employees, Khon Kaen Province. Journal of MCU Peace Studies, 5(3), 226-236. (in Thai)

Orsini, C., & Rodrigues, V. (2020). Medical teacher. supporting motivation in teams working remotely: The role of basic psychological needs. Medical Teacher, 42(7), 828-829.

Srikriengthong, N., & Phasunon, P. (2015). The Study of Motivation Factors Influencing to Sales Effectiveness of PC/BA under the Company Modern Case International Cosmetic Co., Ltd. Veridian E-Journal, 8(2), 1654-1671. (in Thai)

State of remote working. (2019). Retrieved February 1, 2021 from https://buffer.com/state-of-remote-work-2019

Sultana, U. S., Abdullah, N., Mok, E. T., Hossain, J., Sherief, S. R., Iskandar, M. L., & Andalib, T. W. (2021). Exploring motivation and commitment on job satisfaction and employee performance in work from home (WFH) perspective. Psychology and Education, 58(3), 2411-2424.

Theerakosonphong, K. (2020). The role of international labour standard in human resource management and teleworking during the Coronavirus pandemic. Social Sciences Journal, 32(2), 114-158. (in Thai)

Wang, B., Liu, Y., Qian, J., & Parker, S. K. (2021). Achieving effective remote working during the COVID-19 pandemic: A work design perspective. Apply Psychology, 70(1), 16-59.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-12-2021

How to Cite

พวงมาลัย น., & จันทรยุคล ป. . (2021). แรงจูงใจภายในและภายนอกที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน แบบ Remote Working ในช่วงการระบาดของ COVID-19 . วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 13(2), 96–118. https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250977