ความสัมพันธ์เชิงพฤติกรรมที่ส่งผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขัน วิ่งมาราธอนในประเทศไทย ภายใต้ภาวะวิกฤต โควิด-19

ผู้แต่ง

  • วิเชียร รู้บุญ หน่วยวิจัยวิทยาการปัญญาและนวัตกรรม วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
  • คณิติน จรโคกกรวด หน่วยวิจัยวิทยาการปัญญาและนวัตกรรม วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ศศิภา จันทรา หน่วยวิจัยวิทยาการปัญญาและนวัตกรรม วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วณิชยา ใจเร็ว หน่วยวิจัยวิทยาการปัญญาและนวัตกรรม วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ปริญญา เรืองทิพย์ หน่วยวิจัยวิทยาการปัญญาและนวัตกรรม วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.251782

คำสำคัญ:

มาราธอน, เจตคติต่อการวิ่งมาราธอน, การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม, การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง, ความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งมาราธอน, โควิด-19

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์เชิงพฤติกรรมที่ส่งผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งมาราธอนในประเทศไทย ภายใต้ภาวะวิกฤต โควิด-19 เป็นการวิจัยเชิงสำรวจใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 7 ระดับในการรวบรวมข้อมูล เวลาในการวิจัยประมาณ 1 เดือน ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นการวิจัยทางออนไลน์ ในกลุ่มตัวอย่าง คือ นักวิ่งมาราธอนชาวไทยที่เคยวิ่งในระยะ 42.195 กิโลเมตร อายุระหว่าง 15-65 ปี จำนวน 202 คน วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อตรวจสอบความตรงโมเดลการวัด การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณจากโมเดลเชิงสาเหตุพบว่า เจตคติต่อพฤติกรรมมีผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งมาราธอนในประเทศไทย ภายใต้ภาวะวิกฤต โควิด-19 มีค่าอิทธิพลเท่ากับ .446 การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงไม่มีผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งมาราธอนในประเทศไทย ภายใต้ภาวะวิกฤต โควิด-19 มีค่าอิทธิพลเท่ากับ .059 และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมมีผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งมาราธอนในประเทศไทย ภายใต้ภาวะวิกฤต โควิด-19 มีค่าอิทธิพลเท่ากับ .582 และปัจจัยเชิงพฤติกรรมทั้ง 3 ปัจจัย ร่วมกันพยากรณ์ความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขันวิ่งมาราธอน ได้ ร้อยละ 31 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

References

Biddle, S. J. H., Fox, K. R., & Boutcher, S. H. (2003). Physical activity and psychological well-being. London: Routledge.

Blair, S. N., & Brodney, S. (1999). Effects of physical inactivity and obesity on morbidity and mortality: Current evidence and research issues. Medicine and Science in Sports and Exercise, 31(11 Suppl.), S646-S662.

Feldt, L. S. (1969). A test of the hypothesis that cronbach's alpha or Kuder-Richardson coefficient twenty is the same for two tests. Psychometrika, 34(3), 363-373.

González, S. T., López, M. C. N., Marcos, Y. Q., & Rodríguez-Marín, J. (2012). Development and validation of the theory of planned behavior questionnaire in physical activity. The Spanish Journal of Psychology, 15(2), 801-816.

Hair, J. F., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2011). PLS-SEM: Indeed a silver bullet. Journal of Marketing theory and Practice, 19(2), 139-152.

Intira, C., Wanpen, P., Sasima, K. N. A., & Saranya, K. (2017). The relationships among attitude toward exercise, subjective norms, perceived behavioral control and walking exercise intention in post stroke patients after hospital discharge. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 18(2), 178-185. (in Thai)

Kongsak, Y. (2020, June). "Running for health" sets a new schedule for the event after the Covid-19 relaxes. Retrieved August 15, 2021, fromhttps://www.thairath.co.th/sport/others/1873101 (in Thai)

Koronios, K., Psiloutsikou, M., Kriemadis, A., Zervoulakos, P., & Leivaditi, E. (2015). Factors influencing future marathon running participation. In Conference of European Association for Sport Management (pp. 1-3). n.p.: Dublin, Ireland.

Krisda, E. (2019). The standard of running events in Thailand by legal aspect. Journal of Humanities and Social Sciences, CMRU, 1(2), 32-52. (in Thai)

León-Guereño, P., Tapia-Serrano, M. A., Castañeda-Babarro, A., & Malchrowicz-Mosko, E. (2020). Do sex, age, and marital status influence the motivations of amateur marathon runners? the Poznan marathon case study. Frontiers in Psychology, 11, 2151.

Rachanon, T. (2021). The elements of managing sport event that affecting to runners’ perception in university: A case study of Silpakorn Cha-Am mini half marathon 2020. Research and Development Journal, Loei Rajabhat University, 16(55), 36-47. (in Thai)

Schumacker, E., & Lomax, G. (2016). A beginner's guide to structural equation modeling (4th ed.). New York: Routledge.

Songsak, R. (2019). Marathon in Thailand: Social network and challenges in 21st century. Romphruek Journal, 37(1), 7-17. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-12-2021

How to Cite

รู้บุญ ว. ., จรโคกกรวด ค. ., จันทรา ศ. ., ใจเร็ว ว. ., & เรืองทิพย์ ป. . (2021). ความสัมพันธ์เชิงพฤติกรรมที่ส่งผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมการแข่งขัน วิ่งมาราธอนในประเทศไทย ภายใต้ภาวะวิกฤต โควิด-19. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 13(2), 156–175. https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.251782