The Guidelines for Conflict Management in School for School Administrators in Pa Daet Sub-district, Mae Suai, Chiang Rai Province

Authors

  • ชุติพงศ์ เสนาโปธิ นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการการบริหารการศึกษา
  • ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • ดร.สุวดี อุปปินใจ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

Keywords:

-

Abstract

The objectives of this study were: to investigate the roots of conflict in the school in Pa Daet Sub-district, Mae Suai District, Chiang Rai Province based on 5 roots following Moore Framework. And to examine the conflict management behaviors in school of the school administrators in Pa Daet Sub-district, Mae Suai District, Chiang Rai Province based on 5 Methods following Howat & London Framework. The population was 140 participants including school administrators and teacherscategorized by gender, age, education, position, and working experience. The research instrument was questionnaire investigating opinion on the roots of conflict in the school. The data was analyzed by mean and standard deviation. And, to propose the conflict management guidelines in the school for school administrators. There were 8 specialist informants recruited by purposive sampling that were specialists in educational administration holding master degree and higher and experience school administration. The research instrument was structured interview. The data was analyzed by content analysis. The findings revealed that: 1. The root of conflict in the school, in overall, was found at the moderate level. The individual aspects analysis indicated that the aspect holding the highest mean was Information and followed by Value, Benefits, and Relationship respectively. The aspect holding the lowest mean was Structure. 2.The conflict management behavior of school administrators, in overall, was found at the moderate level. The individual aspects analysis indicated that the aspect holding the highest mean was compromising method, followed by reconciliation, confrontation, and avoidance respectively. The aspect holding the lowest mean was enforcement. 3. The conflict management guidelines in school for school administrators in Pa Daet Sub-district, Mae Suai District, Chiang Rai Province means most accepted was compromising method by using convincing negotiation in order to maintain good attitude among conflicting parties, allow conflicting parties to negotiate to understand the thoughts of the other side for reconciliation on the disagreed issue, and seek the solution together with the lowest negative effect on each other. The conflict management guidelines for school administrator should begin from investigating the root of conflict and deal with the issue appropriately and quickly without ignoring or neglecting in order to prevent escalation of worse situation. The remedy towards the problem must concur with the school’s context and should not use feeling in dealing with the conflict but theory and knowledge in conflict management should be systematically used in fixing the conflict in the school

Author Biographies

ชุติพงศ์ เสนาโปธิ, นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการการบริหารการศึกษา

นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการการบริหารการศึกษา

ดร.ไพรภ รัตนชูวงศ์, อาจารย์ประจำสาขาวิชาการการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ดร.สุวดี อุปปินใจ, อาจารย์ประจำสาขาวิชาการการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี 2542 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2545. กรุงเทพมหานคร. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช. (2551). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงฯ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2556). เหตุแห่งความขัดแย้ง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา.

จิระพงศ์ ศุภศรี. (2552). ทักษะการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. กรุงเทพมหานคร.

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2550). คู่มือนักบริหารการจัดการแบบมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร. เอ็มเพรส.

ประนัดดา สุทธิกุล. (2552). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.เลย.

พิพิธ สุวรรณสิงห์. (2550). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. อุดรธานี.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2. (2559). ทะเบียนข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนงานบุคคล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พ.ศ. 2559.เชียงราย: สำนักงานฯ.

อุเทน ทองสวัสดิ์. (2551). การศึกษาความขัดแย้งและวิธีการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดสกลนคร. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. สกลนคร.

Downloads

Published

2021-07-11

Issue

Section

บทความวิจัย