Academic Administration of Educational Institution Administrators in Co-educational Primary Schools at the Prachinburi Provincial Special Education Center

Authors

  • Pradtana Meekhlongyong
  • Sutthiporn Boonsong
  • Pimolpun Phetsombat

Keywords:

Administrator, Academic Administration, Co-educational School, Special Education Center

Abstract

This research aimed to investigate the academic administration of educational institution administrators in co-educational primary schools at the Prachinburi Provincial Special Education Center. The sample consisted of 265 teachers in the co-educational primary schools of the Prachinburi Provincial Special Education Center. The sample size was determined based on Taro Yamane at a reliability level of 95%. The instrument was
a questionnaire. To analyze the data, the researcher conducted statistics consisting of percentage, mean, and standard deviation.The findings revealed that the academic administration of educational institution administrators in co-educational primary schools at Prachinburi Provincial Special Education Center included three scopes: 1. The curriculum development of educational institutions was at a high level.(  = 4.43)   
2. Similarly, measurement, evaluation, and transfer of academic results also showed a highest level. (  = 4.53)
3. Finally, educational supervision indicated a high level. (  = 4.39)

Author Biographies

Pradtana Meekhlongyong

นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (2566)

 

Sutthiporn Boonsong

รองศาสตราจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  (อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก)

 

Pimolpun Phetsombat

รองศาสตราจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (อาจารย์ที่ปรึกษร่วม)

 

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

ช่อทิพย์ มงคลธวัช, ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2565). การศึกษาสภาพและแนวทางการ บริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. Journal of Modern Learning Development. 7(5), 32-49.

วินัย ทาพันธ์ และอดุลย์ วังศรีคูณ.(2565). การศึกษาสภาพการดำเนินงานการวัดผลและประเมินผลทางการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา พิษณุโลก อุตรดิตถ์. วารสารวิจยวิชาการ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 5(5).

-151)

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562.(2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 117 หน้า 138.

พิมลพรรณ เพชรสมบัติ. (2561). การวิจัยทางการบริหารศึกษา. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

สมาน อัศวภูมิ. (2551). การศึกษาไทยในยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2566). นโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สุดาพร จันทร์กาแบงค์ และคณะ. (2565). ความสัมพันธ์การบริหารงานวิชาการกับคุณภาพผู้เรียนของบุคลากรศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต.สาขาบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย: วิทยาลัยทองสุข.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี

(พ.ศ. 2561 – 2580). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อนุวัฒน์ สุวรรณมาตย์,สุขแก้ว คำสอน และเอื้อมพร หลินเจริญ.(2560). รูปแบบการบริหารงานวัดและประเมินผลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์. 28(3). 56-73.

Downloads

Published

2024-08-04

Issue

Section

บทความวิจัย