ละครโทรทัศน์ไทยกับการขับเคลื่อนซอฟท์พาวเวอร์ผ่านวัฒนธรรมมวลชน

ผู้แต่ง

  • ประกายกาวิล ศรีจินดา วิทยาลัยนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ละครซีรีส์ไทย, ละครโทรทัศน์ไทย, วัฒนธรรมมวลชน, ซอฟท์พาวเวอร์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอมุมมองที่มีต่อละครโทรทัศน์ของไทย ในมิติของการเป็นวัฒนธรรมมวลชน เป็นสื่อบันเทิงที่มีอำนาจในการสร้างปรากฏการณ์ทางสังคม โน้มนำความคิด ทัศนคติ และค่านิยมกับคนในสังคมตามแนวคิดของสำนักหน้าที่นิยม โดยใช้วิธีวิเคราะห์ตัวบทที่อิงความคิดว่าเนื้อหาสื่อคือองค์ประกอบสำคัญในการส่งเสริมวัฒนธรรม โดยมุ่งแสดงทัศนะและความคาดหวังในการที่จะสามารถได้รับการยอมรับจากภาครัฐในการส่งออกและขับเคลื่อนเป็นซอฟท์พาวเวอร์ของหนึ่งในอุตสาหกรรมบันเทิงของไทย ทั้งนี้ กระบวนการสร้างซอฟท์พาวเวอร์ผ่านละครโทรทัศน์ไทยนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาในระยะยาว และเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาถึงรายละเอียดของการวัดผลในความสำเร็จของนโยบายสังคม เศรษฐกิจ ที่สะท้อนความสามารถและศักยภาพอันได้เปรียบของประเทศไทยในการแปลงทุนวัฒนธรรมสู่ทุนเศรษฐกิจผ่านละครโทรทัศน์ไทย

References

กองทุนสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. (2561). สืบค้นจาก URL: http://www.thaimediafund.or.th/page/ view/34/?p=1.

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2555). ปาฐกในเรื่องคลื่นแห่งการเปลี่ยนของโลก ใน การประชุมวิชาการ “Thailand Open Memory Championships and Mind Map Festival 2008”. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

พนธกร วรภมร และนณริฏ พิศลยบุตร. (2565). Soft Power ไทย เหตุใดจึงยังไม่เวิร์ค. สืบค้นจาก URL: https://tdri.or.th/2022/04/soft-power-thai/.

พีระ จิรโสภณ. (2551). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน. เอกสารการสอนชุดวิชาการปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 10. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วัชรินทร์ ชินวรวัฒนา (2565) ธุรกิจผลิตสื่อบันเทิงไทย ผลักดันอย่างไรให้ไปทั่วโลก. สืบค้นจาก URL: https://www.isranews.org/article/isranews-article/112220-media-4.html?fbclid= IwAR2mOzTjBeeCbDKhWRpHCjnE5Oq5d4LPOBBqlPu_bUkcCq_njuBIRaVfE2E.

สมสุข หินวิมาน และคณะ. (2554). ความรู้เบื้องต้นทางวิทยุและโทรทัศน์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุภาพิชญ์ ถิระวัฒน์. (2565). Soft Power อำนาจละมุน. สืบค้นจาก URL: https://library.parliament. go.th/th/radioscript/rr2565-may7.

Lasswell, H. (1964). The Structure and Function of Communication in Society. In W. Schramm (Ed.), Mass Communications. Urbana, IL: University of Illinois Press.

Nye, J. S. (1990). Soft Power. Foreign Policy. 80(Autumn), 153-171.

_________. (2004). Soft Power the Means to Success in World Politics. New York: PublicAffairs.

Stanley L. Baran and Dennis K. Davis. (2012). Mass Communication Theory: Foundation, Ferment, and Future. 6th. Canada: PreMediaBlobal

Thanayod Lopattananont. (2021). The Role of Entertainment Media in Promoting Culture: The Case of Japanese Cartoons and Superhero tv Series in 80s-90s Thai Society MANUSYA. Journal of Humanities. 24, 390–408.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-18