แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมระดับ 3 ดาว จังหวัดพังงา

ผู้แต่ง

  • ภุชงค์กร จินดาพล คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

คำสำคัญ:

ศักยภาพ, พนักงานต้อนรับส่วนหน้า, จังหวัดพังงา, โรงแรมระดับ 3 ดาว, ความตั้งใจด้านพฤติกรรม

บทคัดย่อ

              การศึกษาการประเมินศักยภาพด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมระดับ 3 ดาว จังหวัดพังงาศึกษาปัจจัยด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมระดับ 3 ดาว จังหวัดพังงาเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมระดับ 3 ดาว จังหวัดพังงาโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ใช้แบบสอบถามกับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเท่านั้น และมีระยะเวลาในการเข้าพักจำนวน 2 คืนขึ้นไป วิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาหาค่าความถี่ ร้อยละ และข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพ และปัจจัยด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของพนักงานต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมระดับ 3 ดาว จังหวัดพังงา วิเคราะห์โดยใช้สถิติหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนโดยใช้สถิต F-test (One Way ANOVA) ในการประเมินค่าด้านกระบวนการเรียนรู้ ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.08 ด้านการมีไหวพริบในการแก้ไขปัญหา มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.61 ปัจจัยด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของพนักงานต้อนรับส่วนหน้า พบว่า การแสดงความเคารพอย่างไทย มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.61 การกล่าวต้อนรับอย่างสุภาพ มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 การกล่าวประโยคสร้างความประทับใจให้กลับมาใช้บริการอีก มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.97 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.65 ความตั้งใจด้านพฤติกรรมของผู้รับบริการ พบว่า การได้รับการบริการที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ข้อเสนอแนะ มีระดับสมรรถนะอยู่ในระดับน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.00

References

Buncha Chanton. (2016). A study of methods for cost reduction and efficiency improvement of finish good of warehouse: A case study of ABC co., Ltd. (Master’s thesis). Burapha University. Chonburi.

Chaisomporn Prasert. (2004). Marketing executive. Bangkok: Bangkok Sealy UK Ran.

Iam clean industrial estate. (1996). Customer satisfaction with service of Bangkok Bank, Searide Scary Branch. Bangkok: National Institute of Development Administration.

Ministry of Interior in Muang District (Master’s thesis). Chiang Mai University. Chiang Mai.

Nantawan Chumtanti. (2011). The English writing achievement and the satisfaction of students majoring in chemistry towards the process writing approach. Chandrakasem Rajabhat University Journal, 17(33), 127-136.

Nattapong Puttipong and Thananya Wasusri. (2006). Inventory control in rubber textile factories. KMUTT Research and Development Journal, 29(1), 91-108.

Nuan Wichien. (2006). Customer satisfaction towards service of Krung Thai Bank Co., Ltd. Bang Pakong Branch (Master’s thesis). Sripatum University. Bangkok.

Preeyaporn Wongutarot. (2003). Degree in education. Bangkok: Bangkok Center.

Ranee Chaoonpreecha. (2538). Satisfaction of service users at a large police station in the provinces (Master’s thesis). Chulalongkorn University. Bangkok.

Saroch Occult Sombat. (1991). Working satisfaction of tutoring school teachers Department of Education (Master’s thesis). Srinakharinwirot University. Bangkok.

Siriwan Serirat. (1995). Bangkok regulations. Bangkok: Thai Wattana Panich.

Sopawan Trisuwan. (2007). Reliability and service quality of Thai people with continue to Phra Nakhon Si Ayutthaya hotel (Master’s thesis). Naresuan University. Phitsanulok.

Suthichart Amarthin. (2000). Satisfaction of the office of the marketplace service district agriculture in Udon Thani Province (Master’s thesis). Khon Kaen: KhonKaen University.

Teerakit Nawaratana Na Ayudhya. (2004). Marketing for service and standard. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Veer Please. (2015). Regulations for learning English for education. Bangkok: Mahidol University.

Warit Sanritikham. (2005). The satisfaction of the people with the services of the administrative division. Ban Suksa Subdistrict, administrative teacher, Don Ngu Subdistrict, Thelid District (Master’s thesis). Sukhothai Thammathirat Open University. MahaSarakham.

Wichintana Panupong. (1982). Bangkok language desk. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Wirunphan Devi. (2542). Satisfaction of each person in the service of the leave.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

20.06.2021