โครงการวิจัยศิลปวัฒนธรรมเกาะรัตนโกสนิทร์ กลุ่ม : ศิลปกรรมและโบราณคดี

ผู้แต่ง

  • วินัย หมั่นคติธรรม

คำสำคัญ:

ศิลปวัฒนธรรม, เกาะรัตนโกสินทร์, ศิลปกรรม, โบราณคดี

บทคัดย่อ

โครงการวิจัยศิลปวัฒนธรรมเกาะรัตนโกสนิ ทร กลุม : ศิลปกรรมและโบราณคดี มีวัตถุประสงค เพื่อเปน การศึกษาขอมูลทางดานศิลปกรรมและโบราณคดี ภายใตชุดโครงการวิจัยศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร และ เพื่อเปนการรวบรวมและจัดกลุมเนื้อหาทางดานศิลปกรรมและโบราณคดี ในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทรใหเปน หมวดหมู ตามประเภทกลุมขอมูล มีวิธีการศึกษาและรวบรวมขอมูลเชิงประวัติศาสตร (ทุติยภูมิ) ที่เกี่ยวของกับ งานศิลปกรรมและโบราณคดีในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทรตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยทําการเปรียบเทียบและ วิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปจัดกลุมของขอมูล สรุปผลการศึกษาพรอมนําเสนอตอที่ประชุม และรวบรวมเขาสูชุด โครงการฯ ตอไป

ผลการวิจัยพบวางานพื้นที่เกาะรัตนโกสินทรนั้น มีประวัติศาสตรอันยาวนาน กลุมคนที่พักอยูอาศัยมี หลากหลายเชื้อชาติมีการผสมผสานศิลปวัฒนธรรมเขาไปในผลงานศลิปกรรมตามแตละยุคสมัยผลงานจึงมีความ สวยงาม วิจิตรบรรจง ซึ่งแสดงถึงความปราณีต และความตั้งใจในการสรางสรรคผลงานตาง ๆ และเมื่อศึกษา ขอมูลของการเปลยี่ นแปลง รูปแบบของงานศิลปกรรมและโบราณคดีในกรุงรัตนโกสินทร นั้น พบวาปจจัยที่สงผล ใหรูปแบบของงานศิลปกรรมและโบราณคดี ในกรุงรัตนโกสินทร นั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงมีอยู 3 ปจจัย หลัก ๆ ไดแก

1. จากการสืบทอดรูปแบบของงานในลักษณะ “ประเพณีนิยม” หรือ “ขนบนิยม” มาจากยุคสุโขทัย และกรุงศรีอยุธยา (ซึ่งสวนใหญจะเปนงานศิลปกรรมในชวงตั้งแต รัชกาลที่ 1-2)

2. การมีสัมพันธไมตรีที่ดีกับประเทศจีนมีการคาขายแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวางกัน(ซึ่งสวนใหญจะ เปนงานศิลปกรรมในชวง รัชกาลที่ 3)

3. การเขามาของอิทธิพลตะวันตก ในชวงยุคการลาอาณานิคม (ผลงานศิลปกรรมในชวง รัชกาลที่ 4-5 จนถึงรัชกาลปจจุบัน)

References

กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม.(2558) มรดกวัฒนธรรมไทย.
โชติ กัลยาณมิตร.(2518) พจนานุกรมสถาปตยกรรมและศิลปเกี่ยวเนื่อง
ณรงค พวงพิศ.(2523) พื้นฐานอารยธรรม : อารยธรรมไทยและอารยธรรมตะวันตกยุคใหม
กรุงเทพฯ, .
. กรุงเทพฯ: การไฟฟาฝายผลิตแหง
ประเทศไทย.
. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ
แสงรุงการพิมพ,.
นิธิ เอียวศรีวงศ.(2523) ประวัติศาสตรรัตนโกสินทรในพระราชพงศาวดารอยุธยา. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ,.
พิ ริ ย ะ ไ ก ร ฤ ก ษ . ( 2 5 4 4 . ) อ า ร ย ธ ร ร ม ไ ท ย : พื้ น ฐ า น ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ศิ ล ป ะ . เ ล ม 1 -
2. กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพร้ินติ้ง,
วราภรณ จิวชัยศักดิ์.(2531) นโยบายทางดานเศรษฐกิจของรัฐในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา
เจาอยูหัว. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วิโชค มุกดามณี และคณะ.(2541) ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1-8 กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการ
อํานวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ป.
ศรีศักร วัลลิโภดม.(2539) ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเมือง
โบราณ.
ศรีศักร วัลลิโภดม.(2534) สยามประเทศ
. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมติชน.
สุจิตต วงษเทศ.(2555) กรุงเทพฯ มาจากไหน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ดรีม แคทเชอร,.
สุภัทรดิศ ดิศกุล.(2538) ศิลปะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,.
อคิน รพีพัฒน,ม.ร.ว.(2518). สังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทรพ.ศ. 2325- 2416. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิฆเณศ,.
อุทัย ไชยานนท.(2545) วรรณกรรมกรุงรัตนโกสินทร ยุครุงเรืองสูงสุด. กรุงเทพมหานคร: น้ําฝน,.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022