พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ชีวิต สดใส
บทคัดย่อ
สุขภาพเปนสทิธิขั้นพื้นฐานของมวลมนุษยชาติเปนเรื่องของแตละบคุคลทจี่ะตองรับผดิชอบดูแลสขุภาพ ตัวเอง ไมกอพฤติกรรมเสี่ยงเปนอันตรายตอตัวเองและผูอื่น รวมทั้งการแสวงหาความรูอยางตอเนื่องเพื่อสราง แนวทางวิถีชีวิตที่ปลอดภัยรัฐบาลไดกําหนดนโยบายสรางเสริมสังคมที่เขมแข็งมุงพฒันาคนใหมีรางกายจิตใจและ สติปญญา รวมทั้งเสริมสรางสังคม ใหเขมแข็งและยั่งยืนเพื่อใหเปนสังคมคุณธรรม สังคมสุขภาพ และสังคมที่มี ความสมดุล ในป 2545-2547 รัฐบาลไดกําหนดใหเปน “ปแหงการรณรงคสรางสุขภาพทั่วไทย” ภายใตการขยาย เครือขายชมรม สรางสุขภาพชุมชนเพื่อเปนพลังขับเคลื่อนใหเกิด กระบวนการรวมกลุมและเรียนรูดานสุขภาพ จากขอมูลของกองสุขศึกษากระทรวงสาธารณสุข ณ เดือนมีนาคม 2547 มีชมรมสรางสุขภาพทั่วประเทศทั้งหมด 42,002 ชมรมมีสมาชิกจํานวน 5,057,730 คน เพื่อเปนการกระตุนใหทุกภาคสวนของรัฐจัดโอกาสใหประชาชนได มีสวนรวมอยางจริงจังในการสรางสุขภาพปจจุบันกองสุขศึกษาไดพัฒนารูปแบบการดาํเนนิการงานสรางสุขภาพที่ เปนรูปธรรม คือ การพัฒนาใหเกิด “หมูบานที่ประชาชนองคกรตางๆ ในหมูบานบานรวมทั้งภาครัฐที่มีสวน เกี่ยวของรวมมือ ในการพัฒนาและขยายหมูบานสรางสุขภาพใหมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและมีความยั่งยืน กองสุขศึกษาไดกําหนดเปาหมายพัฒนาใหเปนหมูบานสรางสุขภาพตนแบบ ป 2547 อําเภอละ 1 หมูบาน ป 2548 อําเภอละ5 หมูบาน ป 2549 อําเภอละ 10 หมูบาน โดยมีเกณฑในการวัด 8 ตัวชีวัด แนวคิดในการ ดําเนินงานเพื่อเปนหลักประกันใหประชาชนมีโอกาสเปนเจาของสุขภาพดี
References
Ling, C.J. (1998) Healthy lifestyles and health promotion. International Conference on Global Public Health Perspective. Challenges for The Future. Siam-intercontinental Hotal, Bangkok, Thailand.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว