เทคนิคการสอนวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครู โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในระดับอดุมศึกษา
คำสำคัญ:
อุดมศึกษา, เทคนิคการสอน, ปัญหาเป็นฐานบทคัดย่อ
การจัดการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน Problem Based นั้น เปนเทคนิคการสอนที่นํามาใชในการ พัฒนาการเรียนรูของนักศึกษาที่ดีมากอีกเทคนิคหนึ่ง กลาวคือ ทําใหนักศึกษาเกิดทักษะการคิดวิเคราะห การ แกปญหา และการคิดอยางสรางสรรค นักศึกษาทุกคนมีสวนรวมในการเรียนและการปฏิบัติมากขึ้น โดยเฉพาะใน วิชาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับครูที่เนนการใหนักศึกษาไดฝกทักษะลงมือปฏิบัติจริงและ กระบวนการทํางานกลุม ใหนักศึกษาไดมีอํานาจในการบริหารจัดการควบคุมการเรียนรูของตนเอง มีการกําหนด บทบาทหนาที่ของสมาชกิ ในกลมุ ตามความสามารถ โดยมีการกําหนดขั้นตอนการเรียนรูเปน ๖ ขั้นตอน ไดแก ๑) การกําหนดปญหา ๒) การระดมสมอง ๓) การวิเคราะหปญหา ๔) การวางแผนการศึกษาคนควา ๕) การสราง ประเด็นการเรียนรูหรือประยุกตใชขอมูลเพื่อแกปญหา และ๖) การสรุปผลและรายงานผล ในสวนของอาจารย ผูสอนก็ลดบทบาทในการควบคุมชั้นเรียนลงโดยเปนเพียงผูชวย หรือผูใหแนวทางในการคนควาความรู สนับสนุน สงเสริมนักศึกษาเทานั้น
References
มัณฑรา ธรรมบุศย. (2549). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรโู ดยใช PBL. วารสารวชิ าการ.
วิภาภรณ บุญทา. (2541). “การศกึ ษาสภาพการจัดการเรียนการสอนโดยใชปญหาเปน หลกั ในวิทยาลัยพยาบาล
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข”, วิทยานิพนธปรญิ ญามหาบัณฑติ . สาขาวิชาเทคโนโลยีและการ
พยาบาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สํานักมาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรียนร.ู (2550). การจัดการเรียนรูแบบใชป ญหาเปน ฐานกรุงเทพฯ:
สํานักงานคณะกรรมการการศกึษาขั้นพื้นฐาน.
อาภรณ แสงรัศม.ี (2543). ผลของการเรียนแบบใชปญหาเปน หลักตอลักษณะการเรียนรูดวยตนเอง ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอมและความพึงพอใจตอการเรียนการสอนของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปทีม 4. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุดม รัตนอัมพรโสภณ. (2544). “ผลของการสื่อสารในเวลาเดียวกันและตางเวลากันในการเรียนรูผานเว็บโดยใช ปญหาเปนหลักที่มตีอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกัศึกษาระดับปริญญาตร”ี,วิทยานิพนธครุศา
สตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Barrow, H. S. (2000). Problem-based learning applied to Medical Education. Revised edition.
Illinois: School of Medicine, Southern Illinois University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว