การพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธุ์เพื่อป้องกันโรคเอดส์ในจังหวดัสงขลา โดยใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • เทพกร พิทยาภินันท์

คำสำคัญ:

หญิงวัยเจรญิพันธุ์, โรคเอดส, จังหวัดสงขลา, ส่งเสริมสขุภาพ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถปุระสงคเพ่ือพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญพันธุในการปองกันเอดสในระดับตําบลใน จังหวัดสงขลาการวิจัยคร้ังน้ีเปนวิจัยประยุกตกลมุตัวอยางที่ใชในการศึกษาคือหญิงวัยเจริญพันธุต้ังแตอายุ15-45ป ในตําบลปาชิง อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จํานวน 278คน สุมตัวอยางโดยวิธีแบบเจาะจง เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา เปนแบบทดสอบ แบบสอบถามวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยสถิตริ อยละ มัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบคาที ขอมูลเชิงคุณภาพโดยการอภิปรายกลมุ ยอย และสัมภาษณ(Focus group) ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้

การเปรียบเทียบความรูเกี่ยวกับโรคเอดสของหญิงวัยเจริญพนั ธุกอนและหลังการเขารวมเปนเครือขายของ แกนนําหญงิ วัยเจริญพนั ธะบวา กอนเขา รวมเปนเครือขายแกนนําหญิงวัยเจริญพันธุมีคะแนนเฉลี่ย4.6 หลังการเขา รวมเปนเครือขายแกนนาํ หญงิ วัยเจริญพนั ธุมีคะแนนคาเฉลยี่ เพิ่มขึ้น5.57 เมื่อเปรียบเทียบกอนและหลังการเขารวม พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับสถิติ.05

การเปรียบเทียบเจตคติเก่ียวกบั เรื่องเพศและเอดสของหญงิ วัยเจริญพันธุพบวา กอนเขารวมเปนเครือขาย แกนนําหญงิวัยเจริญพนัธุมีคะแนนเฉลี่ย2.97หลังการเขารวมเปนเครือขายแกนนําหญงิวัยเจริญพันธุมีคะแนนเฉล่ีย เพิ่มขึ้น 3.15 เม่ือเปรียบเทียบกอนและหลังการเขารวมพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับสถิติ.05

การเปรียบเทียบพฤติกรรมและทักษะในการปองกนัการติดเชอื้เอดสของหญงิวัยเจริญพนัธุกอนและหลงัการ เขารวมเปนเครือขายแกนนาํหญงิวัยเจริญพนัธุพบวากอนการเขารวมเปนเครือขายแกนนําหญิงวัยเจริญพันธุพบวา กอนการเขารวมเปนเครอืขายแกนนําหญิงวัยมีคะแนนเฉล่ีย2.86หลังการเขารวมเปนเครือขายแกนนําหญิงวัยเจริญ พันธุมีคะแนนเฉลี่ยเพมิ่ข้ึน3.03เม่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมและทักษะในการปองกันการติดเช้ือเอดสกอนและหลัง การเขารวมเปนเครือขายแกนนําหญิงวัยเจริญพันธุพบวามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05

การดําเนินงานโดยใชรูปแบบการมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริมสุขภาพพบวาเปนกระบวนการเรียนรู รวมกันของชุมชนโดยชุมชนคิดเองทําเองบริหารจัดการเองโดยอาศัยองคความรูและศักยภาพทมี่ีอยูในชมุชนจึงทําให กลุม และกิจกรรมน้ันเกิดความยั่งยืนและสามารถดําเนินการอยางตอเน่ือง

การนํารูปแบบการมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริมสขุ ภาพมาดําเนินงานพัฒนาศักยภาพหญิงวัยเจริญ พันธุเพ่ือปองกันโรคเอดสในระดับตาํบลประสบผลสําเร็จเห็นไดจากเครือขายหญงิวัยเจริญพนัธุมีความรูเกี่ยวกับโรค เอดส เจตคติและพฤติกรรมการปองกันโรคเอดสเพิ่มข้ึน

References

กระทรวงสาธารณสุข (2548). รายงานสถานการณโรคเอดสประเทศไทย 2547. กรมควบคุมโรคกระทรวง สาธารณสุข.
ประสทธิ์ ลีระพันธ และเพ็ญประภา ศิวิโรจน (2545). การประเมินโครงการเครือขายการจัดบริการทางสังคม สําหรับผูติดเชื้อ ผูปวยเอดส และครอบครัว. กรุงเทพฯ : เจเอสการพิมพ
พรพรรณ บูรณสัจจะ และคณะ (2548). สถานบริการทางเพศและผูใหบริการทางเพศในประเทศไทย ป พ.ศ. 2548. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รุงกานต สรลัมพ, พลเดช ปนประทีป และทวีศักดิ๋ นพเกสร (2540). รูปแบบการพัฒนาศักยภาพชุมชนในการ ปองกันและแกปญหาโรคเอดส จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ.2531-2539 วารสารการสาธารณสขุ .ปท่ี 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มีนาคม.
สุรพงษ ล่ิมอรุณ และรัตนา วงศไชย (2548). อัตราการติดเชื้อเอชไอวีจากแมสลู ูกในหญิงต้ังครรภท่ีติดเชื้อเอชไอวี เมื่อไดรับยา AZT รวบกับ NVP จังหวัดเชียงราย อุบลราชธานี เพชรบุรี และสงขลา พ.ศ.2544-2546 ผลการวิเคราะหสถานการณโรคเอดสประเทศไทย (2547) (หนา 1-3) กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข.
สุวารี สุขุมาลวรรณ (2546). “การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในการสงเสริมสุขภาพโดยใชกระบวนการ แผนแมบทชุมชน บานหนองบอน ตําบลบอกวางทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี” เอกสาร ประกอบการประชุมวิชาการพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ สถาบันพระบรมราชชนก กรุงเทพฯ : ยุทธ รินทรการพิมพ.
เอกสุธี ยุหมนตรี (2538) ศักยภาพขององคกรชุมชนในการดําเนินงานเร่ืองโรคเอดส. วิทยานิพนธหลักสูตร ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการศึกษานอกระบบ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
Department of Commuincable Disease control (2001). Projection for Hiviads in Thailand : 2000 – 2020. Department of Communicable Disease control, Ministy of Publis Health.
Frew,P., & Bernhard,J.M (2003). “Focusing on HIV/ADS in Africe American”. Journal of Public Health, 93(11),1809.
Levi, J. (2000) “The Public Health Challenges of the HIV Eqidemic.American” Journal of Public Heaith,(7), 1023-1024.
Rifkin, S.B. (1990) Community Perticipation in Maternal and Child Heaith/Family. Yamane, Tar.1973 Statistics: An introductore.3d ed. Singapore: Haper Internation.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022