การออกแบบป้ายบอกทิศทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนย์สามพร้าว

ผู้แต่ง

  • นวพล พัฒนชีวกุล
  • นิติ นิมะลา

คำสำคัญ:

ป้ายบอกทิศทาง, ป้ายบอกตําแหน่ง, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนย์สามพร้าว

บทคัดย่อ

การออกแบบปายบอกทิศทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนยสามพราว มีวัตถุประสงค 1) เพ่ือศึกษาแนวทางการออกแบบปายบอกทิศทาง 2) เพื่อออกแบบและสรางตนแบบปายบอกทิศทางภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนยสามพราว 3) ประเมินความพึงพอใจของผูใชเสนทางภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี ศูนยสามพราว

เครื่องมือในการวิจัย ประกอบดวย 1) ผูทรงคุณวุฒิดานผังเมือง ดานการออกแบบและผูเกี่ยวของในการ จัดภูมิทัศน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนยสามพราว จํานวน 3 ทาน 2)ประชากรและกลุมตัวอยางหลังการ ออกแบบเพื่อใชในการประเมินแบบปายบอกทิศทางและบอกตําแหนงภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนย สามพราว นักศึกษา จํานวน 90 คน เจาหนาท่ีและบุคลากร จํานวน 10 คน

ผลการวิจัยพบวา 1)จากการศึกษาแนวทางการออกแบบปายบอกตําแหนงและปายบอกทิศทาง พบวา ควรออกแบบตัวปายใหสื่อถงึอัตลกัษณที่โดดเดนขององคกรซึ่งในงานวิจัยนี้คืออัตลักษณของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุดรธานีเจริญกาวหนา และอัตลกั ษณที่โดดเดนของจังหวัดอุดรธานี ไดแกดอกจานหรือทองกวาวซึ่งเปนพืชประจํา ถิ่น2)อัตลักษณมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีที่นํามาใช คือ ดอกจาน มาออกแบบตัวปายบอกตําแหนงและปาย บอกทิศทาง โดยใชสีสม (สีของดอกจานและเปนสีประจําจังหวัดอุดรธานี) สีเขียว (สีประจํามหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุดรธานี)เพื่อสื่อถึงความเปนมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานีและตัดทอนรูปรางรูปทรงของดอกจานใหมีความเรียบ งายทันสมัยมีความเปนสากลโดยนํามาออกแบบปายบอกตําแหนงและปายบอกทิศทางภายในมหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี3)ผลการสอบถามความพึงพอใจของคณาจารย บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

จํานวน 100 คนที่มีตอปายบอกตําแหนงและปายบอกทิศทางภายในมหาวิทยาลัยที่ออกแบบขึ้นมาใหมไดแกการ ออกแบบปายบอกตําแหนงภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนยสามพราวจากการนําอัตลักษณของ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ไดแก ดอกจานมาเปนแรงบันดาลใจในการออกแบบ พบวาผูใชเสนทางมีความพึง

พอใจในภาพรวมที่ระดับมาก (คาเฉลี่ย = 4.14)และการออกแบบปายบอกทิศทางภายใน พบวาผูใชเสนทางมี ความพึงพอใจในภาพรวมที่ระดับมาก (คาเฉลี่ย = 4.12)

References

กลุมแนะนาํ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนยสามพราว. (2558). ผังแมบทมหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี ศูนย สามพรา ว. [Online] Available : http://www.tgn2u.com/index. php?Content=product&id=4&id_run=0&view=yes
ชวนพ ชีวรัศมี. (2557). การออกแบบระบบปายสัญลักษณเพอื่ ใชใ นการสอื่ สารระหวางเจาหนาท่ี ตํารวจทางหลวง กับชาวตางชาติโดยอาศัยทฤษฎีการเชื่อมโยงมโนภาพ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ฉบับ มนุษยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปะ, ปที่ 7, ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม 2557, หนา 1374- 1387.
ชุมพร มูรพันธ. (2556). แนวทางการออกแบบการจัดผังพื้นสําหรับนิทรรศการเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพในการ คนหาเปาหมายในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ. วารสารวิชาการ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ฉบับที่ 62, หนา 61–76.
ประชาเกียรติ บุญยืน. (2549). การประเมินระบบการหาทิศทางภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม. วิทยานิพนธศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบส่ือ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม.
วิมลฑา ศิริระเวทยกุล. (2556). ออกแบบระบบปายสัญลักษณภายในหอสมุดแหงชาติ. โครงงานวิจัยหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบส่ิงพิมพและบรรจุภัณฑ. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สาธิมน พงษวัฒนาสุข. (2544). ปจจัยทางกายภาพท่ีมีผลตอการหาทิศทางในภูมิทัศนของมหาวิทยาลัย รามคําแหง. วิทยานิพนธสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.
เอ้ือเอ็นดู ดิสกลุ ณ อยุธยา. (2543). ระบบปายสญั ลักษณ. กรุงเทพฯ: บริษัท พลสั เพลส จํากัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022