การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจดัการทุนทางวฒันธรรมด้านการละเล่นท้องถิ่น ของชุมชนดุสิตาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ภูสิทธ์ ภูคําชะโนด

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, ทุนทางวัฒนธรรม, การละเล่นท้องถิ่น, การจัดการ, ชุมชนดุสิตาราม

บทคัดย่อ

การวิจัยเพื่อคนหาตนแบบทุนทางวัฒนธรรมดานการละเลนทองถ่ินและการมีสวนรวมของประชาชนใน การจัดการทุนทางวัฒนธรรมดานการละเลนทองถ่ินภายในชุมชนดุสิตาราม เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร เก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม จํานวน 400 ชุด ทําการสัมภาษณผูอนุรักษการละเลนทองถ่ินรวมถึงการลงพ้ืนที่ ชุมชนสํารวจดวยแบบสํารวจบริบททางสังคม พบวา ชุมชนแหงนี้ต้ังมานานกวา100 ป เรียกกันทั่วไปวา “ชาวปาก คลองบากกอกนอย” ดั้งเดิมเปนพ้ืนที่ทําสวนผลไม เชน เงาะ ทุเรียนมะพราว มะมวง กลวย ฯลฯ โดยเฉพาะ “เงาะเปนผลไมท่ีมีชื่อเสียง เรียกวา “เงาะบางยี่ขัน” มีรสหวาน เนื้อมาก เมล็ดลีบ เนื้อไมติดเมล็ด” มีวัฒนธรรม การละเลนพ้ืนบาน เชน ผีลอบ แมศรี ลิงลม กระบี่กระบอง กลองยาว เลนกันในงานเทศกาลสงกรานต นับแตหลัง สงครามโลกจนถึงปจจุบัน กระแสการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีทางสังคมเปล่ียนแปลงไปจากชนบทสูความเปนเมือง สงผล ตอวัฒนธรรมแปรเปลี่ยน รองรอยอดีตของวัฒนธรรมการละเลนทองถ่ินเหลือเพียงผูสืบทอดคณะศรีดุสิต และ คณะลูกธนบุรี หรือ สํานัก “ศ.ลูกธนบุรี” เปนรุนลูกหลาน ปจจุบันการสืบทอดในระดบั ชุมชนลาํ บากมากขนึ้ เพราะ การมีสวนรวมในชุมชนมีนอยมาก ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมสวนใหญมาจากบุคคล เชน เพศ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส และรายไดตอเดือน เมื่อปจจัยเปล่ียนแปลงไปทําใหการมีสวนรวมเปลี่ยนไปดวย พรอมกับเกิดมี ความขัดแยงทางความคิดในการพฒันาชุมชนมากการจัดการทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนยอมเหลือไวเฉพาะสวน บุคคลและครอบครัวที่มีใจรักและศรัทธา

References

ภูสิทธ ภูคําชะโนด. (2552). การมีสวนรวมของกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. งานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ภูสิทธ ภูคําชะโนด. (2555). การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครัวเรือนของประชาชน ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. งานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สุริชัย หวันแกว. (2538). วัฒนธรรมและการกอรูปกอรางของ วัฒนธรรมประจําชาติไทย. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
เสรี พงศพิศ. (2529). คืนสูรากเหงา: ทางเลือกและทัศนะวิจารณวาดวยภูมิปญญาชาวบาน. กรุงเทพฯ: เทียน วรรณ.
สํานักงานเขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร, ฝายพัฒนาชุมชน. (2555). การสํารวจ ขอมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2555.
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.). (2554). นโยบายและยุทธศาสตรการวิจัย ของชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. (เอกสารอัดสําเนา).
สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม. (2552). แผนแมบทวัฒนธรรมแหงชาติ (พ.ศ. 2550-2559). กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
วิทยา นุชรักษา. (2558). สัมภาษณ. ท่ีชุมชนดุสิตาราม กรุงเทพมหานคร. วันท่ี 2 เมษายน พ.ศ.2558. ประจวบ ทองคําสุก. (2558). สัมภาษณ. ที่ชุมชนดุสิตาราม กรุงเทพมหานคร. วันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ.2558 สมสุข ทองคําสุก. (2558). สัมภาษณ. ที่ชุมชนดุสิตาราม กรุงเทพมหานคร. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2558. ก่ิง ใจแกลว. (2558). สัมภาษณ. ท่ีชุมชนดุสิตาราม กรุงเทพมหานคร. วันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ.2558.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3 rd ed., Tokyo: Harper.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022