ปัจจัยที่มีผลต่อการกระทาความผิดในคดีโจรกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของ ผู้ต้องขัง ในเรือนจำเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • วันจักร น้อยจันทร์
  • ชาญคณิต กฤตยา สุริยะมณี
  • พิศาล มุขแจ้ง
  • นัยนา น้อยจันทร์

คำสำคัญ:

กระทำความผิด, คดีโจรกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์, ผู้ต้องขัง, เรือนจำ, กรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกระทาความผิดในคดีโจรกรรมรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ของผู้ต้องขังในเรือนจาเขตกรุงเทพมหานคร และศึกษาแนวทางป้องกันการโจรกรรมรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเชิงปริมาณได้แก่ ผู้ต้องขังคดีโจรกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์ใน เรือนจาพิเศษกรุงเทพมหานคร เรือนจาพิเศษธนบุรี และเรือนจาพิเศษมีนบุรี จานวน 400 คน ผู้ให้ข้อมูลในเชิง คุณภาพได้แก่ บุคลากรภาครัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม จานวน 12 คน ระเบียบวิธี ท่ีใช้ในการวิจัยคือการสารวจข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้ คาถามแบบก่ึงมีโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อจานวนครั้งที่กลุ่มตัวอย่างการกระทาความผิดในคดี โจรกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ0.05 มากท่ีสุด คือการเข้าร่วมแก๊ง การคบหาสมาคมท่ีแตกต่าง การชั่งใจไตร่ตรอง ความสูญเสียหรือการขาดทุน ส่วนการเลียนแบบ ไม่มีผลต่อการ กระทาความผิดในคดีโจรกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05 และการ ป้องกันนั้นภาครัฐควรมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนรู้จักป้องกันรถยนต์และรถจักรยานยนต์ เจ้าหน้าที่ตารวจจะต้องปรับปรุงระบบสายตรวจ และประชาชนภายในชุมชนจะต้องร่วมมือร่วมใจกัน สอดส่อง ดูแล ตัดวงจรการกระทาความผิด

References

Bosiakoh, T. A. & Andoh, P. K. (2010). Differential Association Theory and Juvenile elinquency in Ghana’s Capital City -Accra: the Case of Ghana Borstal Institute. International of Sociology and Anthropology. 2, 9 (November): 198-205.
Pyrooz, D.C. & Decker, S.H. (2012). Delinquent Behavior, Violence, and Gang Involvement in China, J QUANT CRIMINOL 29: 251-272
Sutherland , E. H. & Cressey, Donald R. 1919- (1978). Criminology (10th ed). Philadelphia [etc.] Lippincott
Haynie, D. L. (2002). Friendship Networks and Adolescent Delinquency: The Relative Nature of Peer Delinquency. Journal of Quantitative Criminology, 18(2), 99-134.
Siegel, L.J. (2000). Criminology (7th ed). Belmont, Calif Wadsworth/Thomson Learning Suteesorn, S.and Khantee, P. (2009). khwam pen pai dai nai kan chattham phaenthi atyakam
nai prathet thai [Possibility of Crime Mapping in Thailand]. Bangkok : National Research
Council of Thailand.
Terence P. Thornberry and James H. Burch II, (1997) Gang Members And Delinquent Behavior,
Juvenile Justice Bulletin.(June):1-5
Thornberry. (1994). Delinquent Peers, Beliefs, And Delinquent Behavior: A Longitudinal Test Of
Interactional Theory. Criminology. 32, 1(February): 47-83

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01.01.2022