ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมทางการตลาดบริการกับความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยวท่ีเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติจังหวัดอุดรธานี
คำสำคัญ:
ความสัมพันธ์, ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ, ความพึงพอใจ, แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ จังหวัดอุดรธานีบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของส่วนประสมทางการตลาดบริการ และความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยว และความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประสมทางการตลาดบริการกับความพึงพอใจของนักท่องเท่ียว ท่ีเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติจังหวัดอุดรธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย มีค่าความเช่ือมั่น ท้ังฉบับเท่ากับ .779 มีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า มี 5 ระดับ เรียงจากน้อยไปหามาก กลุ่มตัวอย่างเป็น นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติจังหวัดอุดรธานี จานวน 384 ตัวอย่าง เมื่อรวบรวมข้อมูลแล้ว ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามคืน จานวน 361 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 94.01 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เพื่อศึกษาระดับของตัวแปร และสถิติเชิงอ้างวิเคราะห์ค่า สหสัมพันธ์เพ่ือทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรผลการวิจัยพบว่าส่วนประสมทางการตลาดบรกิารและความ พึงพอใจของนักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติจังหวัดอุดรธานี คือ นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางมา ท่องเท่ียวแหล่งจังหวัดอุดรธานี โดยภาพรวมทั้ง 7 ด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก จังหวัดอุดรธานีมีแหล่ง ท่องเที่ยวท่ีมีศักยภาพสามารถรองรับนักนักท่องเท่ียวที่เดินทางเข้ามาในแหล่งท่องเที่ยว ทุกภาคส่วนควรมีส่วน ร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดอุดรธานีให้เกิดการสร้างรายได้และมีความยั่งยืน
References
La-iard Silanoi. (2558). Methodology, sample groups for quantitative research. Bangkok : Bangkok Blue Print.
Ministry of Tourism and Sports. (2555). Tourism development plan (2555-2559). Retrieved :
http://www.mots.go.th [January 2, 2562]
Office of the National Economic and Social Development Board. (2560). The National
Economic and Social Development Plan 12. (2560-2564). Retrieved : http://www.nesdb.go.th [January7, 2560]
Seri Wong Monta. (2542). Consumer behavior analysis. Bangkok : Thira Film and Cytex.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว