การเพิ่มรายได้วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี จากการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผลผลิตเกษตรปลอดภัย
คำสำคัญ:
เพิ่มรายได้วิสาหกิจชุมชน, ผลิตภัณฑ์แปรรูป, จังหวัดสุพรรณบุรีบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มรายได้วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ในการพัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเป้าหมาย จำนวน 11 แห่ง จาก 5 อำเภอ ในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี โดย (1) การรับสมัครและคัดเลือกวิสาหกิจชุมชนเข้าร่วมโครงการ (2) การพัฒนาองค์ความรู้เป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ (3) การพัฒนาช่องทางการตลาดออนไลน์ และ (4) การติดตามประเมินผลการดําเนินงาน ผลการศึกษา พบว่าเกิดผลิตภัณฑ์แปรรูปด้านอาหาร และเครื่องสำอาง ที่สามารถเพิ่มรายได้วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 10 ผลิตภัณฑ์ โดยสามารถประมาณรายได้เพิ่มจากผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ประมาณ 531,600 บาทต่อปี ซึ่งสามารถเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิกกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการ ประมาณ 1,703.85 บาทต่อคนต่อปี
References
Agriculture and Cooperatives Database and Information Working Group for Suphanburi. (2020). Basic information and information on agriculture and cooperatives in Suphanburi Province 2020. Suphanburi: Suphanburi Provincial Office (In Thai).
Arunkumar, S., & Muthuselvam, M. (2009). Analysis of phytochemical constituents and antimicrobial activities of Aloe vera L. against clinical pathogens. World Journal of Agricultural Sciences, 5(5), 572-576.
Boohuad, N., Rungruang, R., Rattanathavorn, W., Linitda, T., & Youdee, P. (2020). Development of formulations for sun protection and skin lightening cosmetics based on functional active ingredients. Bangkok: Suan Dusit University (In Thai).
Community Enterprise Promotion Division. (2020). Community Enterprise Information System. Retrieved from https://smce.doae.go.th (In Thai)
Kaewkhankrai, T. (2017). Survive The Economic Crisis by Implementing Community Enterprise. Academic Journal of Buriram Rajabhat University, 9(2), 33-50 (In Thai).
Mulik, M., & Phale, M. (2009). Extraction, purification and identification of aloe gel from Aloe vera (Aloe barbadensis Miller). J Nat Prod, 5(3), 111-115.
Panichakul, T., Boohuad, N., Chantree, K., Kuljanabhagavad, T., Patumasut, P., Rungruang, R., & Onvimol, N. (2017). Antibacterial Activity of Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz Extract Against Bacteria with Dermatologic Relevance. Journal of Food Health and Bioenvironmental Science, 10(3), 17-32 (In Thai).
Poodang, T., & Permsiri, W. (2020). Technology transfer, production and management Kanom Gong production to the community. Journal of Educational Studies, 14(1), 9-16 (In Thai).
Schnoes, C. J., Murphy-Berman, V., & Chambers, J. M. (2000). Empowerment evaluation applied: Experiences, analysis, and recommendations from a case study. American Journal of Evaluation, 21(1), 53-64.
Sichomphon, S., Pothisoong, T., Piyapanthawanon, S., Boonsri, N., Nilpayak, T., Sichomphon, K., & APanitnok, K. (2014). Transfer of production and processing technology of popcorn. Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Plants. (313-320). Bangkok: The Thailand Research Fund (In Thai).
Strategic and Information Work Group for Provincial Development. Suphan Buri Provincial Office. (2021). Briefing of Suphan Buri Province 2020. Suphan Buri: Suphan Buri Provincial Office (In Thai).
Suphanburi Provincial Office. (2021). Suphanburi Province Development Plan. Suphanburi: Suphanburi Provincial Office (In Thai).
Wandersman, A., Alia, K. A., Cook, B., & Ramaswamy, R. (2015). Integrating empowerment evaluation and quality improvement to achieve healthcare improvement outcomes. BMJ Qual Saf, 24(10), 645-652.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว