การสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงร่วมสมัย ชุด โยนีกำหนัด
คำสำคัญ:
ศิลปะการแสดง, การเสพสังวาส, ความฝันของเพศหญิง, อารมณ์และความฝันบทคัดย่อ
การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะการแสดง ชุด โยนีกำหนัด เป็นงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์การสร้างสรรค์ออกแบบผลงานทางด้านศิลปะการแสดงประเภทงานร่วมสมัย เพื่อนำเสนอความต้องการของมนุษย์ในด้านกิเลสตัณหา กามอารมณ์ แสดงผ่านรูปแบบทางศิลปะการแสดงโดยใช้แนวคิดทฤษฎีทางด้านศิลปะการแสดง 7 ประการ ในมุมมองความฝันของเพศหญิง สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางระเบียบวิธีวิจัย คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารทางวิชาการ หนังสือ ตำรา การลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลแล้วนำมาสร้างสรรค์ผลงานตามกระบวนการ
ผลการวิจัยพบว่าการสร้างสรรค์งานศิลปะแสดง ชุด โยนีกำหนัด ประกอบไปด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.องค์ประกอบแนวคิดแสดง 2.องค์ประกอบด้านนักแสดง 3.องค์ประกอบด้านลีลาการแสดง 4.องค์ประกอบอุปกรณ์ 5.องค์ประกอบด้านการแต่งกาย 6.องค์ประกอบด้านเสียง 7.องค์ประกอบด้านแสง การแสดงชุดนี้นำเสนอการตีความผ่านความฝันของสตรีเพศในการเสพสังวาส ความต้องการในกามกับบุรุษเพศผ่านทางการฝันที่เป็นการเร้าอารมณ์ในการจูบ ลูบ คลำ
References
Bootchai, K. (2021). The Concept Development of Costume Design for Choreography. Journal of BSRU-Research and Development Institute, 6(2), 72-87. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rdibsru/article/view/254221 (In Thai)
Damrun, P. (2021). Performance research: creating new knowledge through drama production (1st ed.). Bangkok: Phapraphim Printing House (In Thai).
Mahalattha, A. (2022). The creation of contemporary Thai dance that reflects the love of people with diverse genders (Doctoral dissertation). In Master of Arts' Thesis. Bangkok: Chulalongkorn University (In Thai).
Metanee, S. (2022). Research methods in fine arts (1st ed.). Bangkok: Chamchuri Company Products Co., Ltd (In Thai).
Na Thalang, S. (2016). “Creative folklore”: synthesis and theory. Bangkok: Sirindhorn Anthropology Center (Public Organization) (In Thai).
Nakawatchara, C. (2017). Theory and art criticism: views of Thai academics. Pathum Thani: Nakorn Publishing House (In Thai).
Natyakul, S. (2022). The Creation of Dance (1st ed.). Khon Kaen: Klang Nana Witthaya Printing Ltd (In Thai).
Nopphaudomphan, K. (2014). An analytical study of approaches to designing costumes for performing dance works (Thai Dance) Faculty of Fine and Applied Arts Srinakharinwirot University During the academic year 2003-2007. Journal of the Institute of Culture and Arts, 16(1), 79-92. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/30527 (In Thai)
Pimsarn, P., & Charassri, N. (2019). Guidelines for the Creative Design of Props from Creative Dance Work of Naraphong Charassri’s Dance Exhibition. Research and Development Journal, Suan Sunandha Rajabhat University, 11(2), 38-48. doi:10.53848/irdssru.v11i2.233361 (In Thai)
Potila, J., & Maneewattana, C. (2020). Peerapong Sensai: The Creative Style of Image Light and Sound Show. Journal of Humanities & Social Sciences (JHUSOC), 18(3), 1-22. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhusoc/article/view/247755 (In Thai)
Sanwaraphiphu, T. (2015). The process of creating contemporary dance. Journal of Humanities and Social Sciences, Bansomdejchaopraya Rajabhat University, 9(2), 17-29. Retrieved from https://so08.tci-thaijo.org/index.php/jhusocbru/article/view/432 (In Thai)
Sensai, P. (2020). Aesthetics of dance analysis and dance criticism (3rd ed.). Maha Sarakham: Rattanachai Copy Center (In Thai).
Supakat, J. (2023). Personal communication, Li District, Lamphun Province.
Suwanprawek, K., Jongda, S., & Ruengrong, A. (2023). The Concept Creation Form and Process of Designing Creative Performances for Children the Legend of Muang Lom. The Journal of Research and Academics, 6(5), 297-310. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/260982 (In Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว