“หนึ่งเดียวเพื่อรวมใจ รวมใจเพื่อเป็นหนึ่ง”: ประวัติศาสตร์ฟุตบอลในชวา ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา (1942-1945)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์สำคัญในการอธิบายประวัติศาสตร์ฟุตบอลภายในเกาะชวาภายใต้การกำกับดูแลของรัฐบาลกองทัพญี่ปุ่นช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา (ค.ศ. 1942-1945) เพื่อต้องการแสดงให้เห็นถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมลูกหนังช่วงทศวรรษ 1940 ผ่านการใช้หลักฐานชั้นต้นจากหนังสือพิมพ์และนิตยสาร กองทัพญี่ปุ่นในชวาใช้ฟุตบอลเป็นกิจกรรมเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของร่างกาย ความบันเทิง และความสามัคคีในหมู่ประชาชนที่มีความหลากหลาย หนังสือพิมพ์และนิตยสารช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาสะท้อนให้เห็นถึงการเข้าร่วมของนักกีฬาและทีมฟุตบอลที่มีความหลากหลายเชื้อชาติในการแข่งขันฟุตบอลอีกทั้งยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของแผนการเล่น 2-3-5 อันเป็นแผนการเล่นที่ได้รับความนิยมอย่างมากในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติในวัฒนธรรมฟุตบอลชวา นอกจากนี้ยังปรากฏประเด็นอื่นๆอย่าง ประเด็นแฟนฟุตบอลกับความจุของสนามกีฬา และประเด็นการจำหน่ายผลิตภัณฑ์กีฬา
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
NIOD. Asia Raya. (23 July 1942-7 September 1945) Jakarta.
_____. Djawa Baroe. (1 January 1943-1 August 1945). Jakarta.
_____. Soeara M.I.A.I.: Madjallah Islam/Madjlis Islam (1 November 1943). Jakarta.
_____. Pandji Poestaka. (25 April 1942-15 March 1945). Jakarta.
_____. Pembangoen. (8 July 1943-31 December 1943). Jakarta.
_____. Soeara Asia. (2 June 1942-13 September 1945). Soerabaja.
_____. Tjahaja. (8 June 1942-5 September 1945). Bandung.
นิพนธ์ กิติกุล. หลักการเล่นฟุตบอลสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: พิทักษ์อักษร, 2525.
อู่จี้เยียะ. 60 ปีโพ้นทะเล.กรุงเทพฯ: โพสต์บุ๊กส์, 2553.
Bangun, Hendry Ch. Wajah Bangsa dalam Olahraga: 100 Tahun Berita Olahraga Indonesia. Jakarta: Pustaka Spirit & Intimedia, 2007.
Cho, Younghan. Football in Asia: History, Culture, and Business. Abingdon, OX: Routledge, 2014.
Guttmannand, Allen and Lee Thompson. Japanese Sport: A History. Honolulu: University of Hawaii Press, 2001.
Kahin, George McTurnan. Nationalism and Revolution in Indonesia. Ithaca. New York: Cornell University Press, 1952.
Kratoska, Paul H. Asian Labor in Wartime Japanese Empire. Singapore University Press, 2006.
Lebra, Joyce C. Japanese-Trained Armies in Southeast Asia: Independence and Volunteer Forces in World War II. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2010.
Mechikoff, Robert A and Estes, Steven G. A History and Philosophy of Sport and Physical Education: from Ancient Civilizations to the Modern World. Boston: McGraw Hill, 2002.
Pope, S.W. and Nauright, John. Routledge Companion to Sport History. London: Routledge, 2010.
Post, Peter. Frederick, William H. and Sato, Shigeru. The Encyclopedia of Indonesia in the Pacific War: in Cooperation with the Netherlands Institute for War Documentation. Leiden; Boston: Brill, 2010.
Sato, Shigeru. War, Nationalism and Peasants: Java Under the Japanese Occupation 1942-1945. Armonk, New York: M.E. Sharpe, 1994.
Brown, Colin. “Playing the Game: Ethnicity and Politics in Indonesian Badminton.” Indonesia 81 (April 2006): 71-93.
Colombijn, Freek. “The Politics of Indonesian Football.” Archipel 59 (2000): 171-199.
กษิดิศ วงษ์ลิขิตธรรม. “รัฐกับนโยบายส่งเสริมกีฬาในหมู่เกาะอินโดนีเซียระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพาและสงครามต่อสู้เพื่อเอกราช ในช่วง ค.ศ. 1942-1949.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
Fédération Internationale de Football Association. DUTCH EAST INDIES. n.d. 2015, October 25 (http://www.fifa.com/worldcup/archive/france1938/teams/team=44031/matches.html; http://www.fifa.com/worldcup/archive/france1938/teams/team=44031/players.html).
Japan Football Association. History of JFA. 2016, August 9 (http://www.jfa.or.jp/eng/history/).
Stokkermans, Karel. Dutch East Indies - Football History. 2012. 2015, November 11 (http://www.rsssf.com/tablesi/indiechamp.html)