เฉาะแฉะในบ้านชนชั้นกลาง: พฤติกรรมร่วมเพศ ชนชั้นกลาง ชนชั้นล่าง และพื้นที่แห่งปรารถนากามารมณ์ในสังคมไทย ทศวรรษ 2490
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาถึง “วรรณกรรมเฉาะแฉะ” อันเป็นงานเขียนนำเสนอเรื่องเพศและกามารมณ์โจ่งแจ้งด้วยถ้อยคำตรงไปตรงมาซึ่ง วรรณกรรมเฉาะแฉะปรากฏในสังคมไทยช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงและช่วงทศวรรษ 2490 มุ่งเน้นความสนใจต่อพฤติกรรมร่วม เพศของตัวละครในพื้นที่บ้านชนชั้นกลาง โดยหยิบยกตัวบทหลักฐานชั้นต้นมาศึกษาวิเคราะห์จำนวน 2 เรื่องได้แก่ สงครามพิงโอ่ง ผลงานของ ชอบสนุก และเกมรักในห้องน้ำ ผลงานของมะดันเพื่อแสดงให้เห็น แรงปรารถนาทางเพศของชนชั้นกลางและชนชั้นล่างรวมถึงฉายภาพสะท้อนบริบทสังคมไทยช่วงเวลาดังกล่าวในหลากหลายแง่มุมด้วย
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
กล่อมครรภ์. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
ชอบสนุก. สงครามพิงโอ่ง. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
ชอบสนุก. สวรรค์บนฟูก. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
ชอบสนุก. เสน่หาอาลัย. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
มะดัน. เกมรักในห้องน้ำ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
หยาดพิรุณ. รักปฏิรูป. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
กำธร สถิรกุล. หนังสือและการพิมพ์. พระนคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2515.
การ์วิซ ชาล์ส. บูชาความรัก. แปลโดย ส. อันตะริกานนท์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศรีกรุง, 2461.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. กฎหมายลักษณอาณารัตนโกสินทรศก 127 The Penal For the Kingdom of Siam R.S. 127 (1908) Code Pe’nal du Royaume de Siam Promulgue’ le 1 Juin 1908. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. หนังสือโป๊ตลาดล่าง: ความรู้ มายาคติ และจินตนาการในเรื่องเพศ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง, 2551.
ธนาพล ลิ่มอภิชาต. ““โป๊”...หมายถึงแค่ไหน ?: การก่อตัวของแนวคิดและการถกเถียงเรื่อง “ลามกอนาจาร” ในสังคมไทย (ปลายทศวรรษ 2460 ถึงต้นทศวรรษ 2490).” ใน ถกเถียงเรื่องคุณค่า (กรุงเทพฯ; วิภาษา, 2559), 511-564.
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. “บทนำ: สุนทรียะ การควบคุม และศิลปะแห่งการละเมิด.” ใน เมื่อฉันไม่มีขน ฉันจึงเป็นศิลปะ. กรุงเทพฯ: สมมติ, 2557.
ธเนศ วงศ์ยานนาวา. “วัฎจักรของทฤษฎีและประวัติศาสตร์ของชนชั้นกลาง: จากการปฏิวัติฝรั่งเศสสู่พฤษภาทมิฬ/19 กันยายน.” ใน ศึกษา รู้จัก วิพากษ์คนชั้นกลาง: รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ, บรรณาธิการโดย นลินี ตันธุวนิตย์ และ นพชัย แดงดีเลิศ. กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550, 18-19.
นันทลักษณ์ คีรีมา. 50 สิ่งแรกในเมืองไทย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2556.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. ว่าด้วย “เพศ”: ความคิด ตัวตน และอคติทางเพศ ผู้หญิง เกย์ เพศศึกษา และกามารมณ์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2545.
เพ็ญศรี สิงหเสนี. “คุณประจงในความทรงจำของดิฉัน.” ใน อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นายประจง สิงหเสนี ณ เมรุวัดธาตุทอง วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2525, ม.ป.พ., 12-32.
“พระราชบัญญัติปราบปรามการทำให้แพร่หลายและการค้าวัตถุลามก พ.ศ. 2471.” (2471, 29 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 45, 114-116.
ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์. วัฒนธรรมบันเทิงในชาติไทย: การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมความบันเทิงในสังคมกรุงเทพฯ พ.ศ. 2500-2491. (กรุงเทพฯ: มติชน, 2550), 185.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. “โคลนติดล้อ บท 10 การค้าหญิงสาว,” ใน ลัทธิเอาอย่าง. กรุงเทพฯ: ธรรมบรรณาคาร, 2516.
ยาขอบ (นามแฝง). เล่าปี่ผู้พนมมือให้แก่ชนทุกชั้น. พระนคร: อุดม, 2488.
ยาขอบ (นามแฝง). สินในหมึก. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2543.
‘รงค์ วงษ์สวรรค์. ๒ นาฑีบางลำพู. กรุงเทพฯ: มติชน, 2538.
ลาวัณย์ โชตามระ. ชีวิตชาวกรุง เมื่อค่อนศตวรรษมาแล้ว และ ชีวิตชาวกรุงสมัยสงคราม. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา, 2527.
วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. “ไลแอมมาจากไซแอม.” ใน ความไม่พยาบาท. กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์พริ้นติ้ง, 2544.
วิลาศ มณีวัต. “ชมรมนักประพันธ์ นัดที่ ๑๑ อภิปราย ‘ทัศนะต่อสัญชาติญาณมืด’ ของ อ. อุดากร,” ใน นักประพันธ์ที่รัก ตอน ชมรมนักประพันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, 2547.
ส. พลายน้อย. ความรัก-ชีวิตและงาน ส่ง เทภาสิต ต้นแบบของ สันต์ เทวรักษ์. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2536.
สีฟ้า-ส. รศแห่งความรัก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บุญช่วยเจริญ, 2460.
สุชาติ สวัสดิ์ศรี. “ประวัติศาสตร์ส่วนตัว ชีวิตการอ่านช่วงวัยเด็กและวัยรุ่น.” ใน ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (บรรณาธิการ) ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊ค, 2556.
สุชาติ สวัสดิ์ศรี (บรรณาธิการ). “วรรณกรรมฝนตก.” สโมสรถนนหนังสือ.กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2531, 95-120.
สำนักพจนานุกรมมติชน. พจนานุกรม นอกราชบัณฑิตยฯ. กรุงเทพฯ: มติชน, 2545.
อรวรรณ (เลียว ศรีเสวก). “บรรณโลก ๑๐ สตางค์.” ใน สู่เมืองเสือ. กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น, 2519, 1-27.
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ. “กล่อมครรภ์: เมื่อครูเหลี่ยมฉีกยันต์กันผีเสนอเรื่องเพศและกามารมณ์กล่อมสังคมไทย ทศวรรษ 2450-2460.” ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 10 “คลุมเครือ เคลือบแคลง เส้นแบ่งและพรมแดนในมนุษยศาสตร์” 19-20 กันยายน 2559 ณ โรงแรมราชมังคลาสงขลา เมอร์เมด, 261-287.
อัมพร หาญนภา (นามแฝง). ประกายพรึก. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา, 2506.
เอนก นาวิกมูล. ข้าวของต่าง ๆ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2558.
อุษณา เพลิงธรรม. เรื่องของจันดารา. กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์, 2542.
กองบรรณาธิการ. โลกหนังสือ 4, ฉ. 9, (มิถุนายน 2524)
นายตำรา ณ เมืองใต้. “ความหมายของสำนวนสะวิง.” อักษรสาส์น 1, ฉ.1, 2492), 70-75.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. “โสเภณีนโยบายของรัฐบาลไทย พ.ศ. 2411-2503.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526.
สมหญิง จรรยา. “การผลิตโอ่งมังกรกับความสัมพันธ์ในชุมชน.” สารนิพนธ์ปริญญาบัณฑิต, ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2537.
สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ. ““ผัวเดียวเมียเดียว” ในสังคมไทยสมัยใหม่จากทศวรรษ 2410 ถึงทศวรรษ 2480.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
Goulemot, Jean–Marie. Forbidden Texts: Erotic Literature and its Readers in Eighteenth-Century France,
trans. James Simpson. 1991; Cambridge: Polity Press, 1994.
Harvey, Karen. Reading Sex in the Eighteenth Century: Bodies and Gender in English Erotic Culture. Cambridge: Cambridge University Press, 2004.
ชมัยภร บางคมบาง (แสงกระจ่าง). สัมภาษณ์โดย อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ, สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย นนทบุรี, 14 กรกฎาคม 2558.
ชมัยภร บางคมบาง (แสงกระจ่าง). สัมภาษณ์โดย อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ, งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติครั้งที่ 45 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์, 7 เมษายน 2560.
ทักษิณ ชูจรินทร์. สัมภาษณ์โดย อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ, ห้างสรรพสินค้าพันทิพย์ งามวงศ์วาน, 29 มีนาคม 2558.
ภราดร ศักดา. สัมภาษณ์โดย อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ, บ้านพักซอยมัยลาภ กรุงเทพฯ, 13 เมษายน 2560.
ส. พลายน้อย. สัมภาษณ์โดย อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ, บ้านพักข้างวัดอนงคาราม ธนบุรี,10 เมษายน 2560.