อำนาจของสตรีสยามกับชายโสด: แรงงานชายขอบหลังเลิกทาสและไพร่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการจะอภิปรายถึงปรากฏการณ์ของแรงงานชายขอบทั้งสองประเภทในช่วงทศวรรษ 2450 จนถึงก่อนปฏิวัติสยาม 2475 การจัดการแรงงานในสังคมสยามตั้งแต่จารีตโบราณมา แรงงานผู้หญิงมีบทบาทและได้รับการเอ่ยถึงในหน้าเอกสารของรัฐน้อยมาก ผิดกับแรงงานเพศชายที่เมื่อถึงเวลาจะต้องเข้าสังกัดกรมกองอยู่ภายใต้ระบบมูลนาย เพื่อเป็นแรงงานให้กับมูลนายของตนในชีวิตประจำวัน งานเทศกาล กระทั่งศึกสงคราม การควบคุมแรงงานเพศชายจึงถูกบันทึกและแสดงหลักฐานทางกฎหมายอยู่อย่างสม่ำเสมอ กระทั่งการยุติระบบไพร่และทาสเพศชายก็ยังมีพันธะที่ต้องเสียค่าราชการ หรือค่าแทนแรงเกณฑ์ในฐานะที่มีความเป็น “แรงงาน” ในตัว เมื่อเทียบกับเพศหญิงแล้ว ผู้ชายจึงมิใช่ “แรงงานอิสระ” มากเท่า นั่นหมายถึง อีกด้านหนึ่งแล้วแรงงานหญิงเป็นแรงงานแฝงทั้งในฐานะผู้ดูแลครัวเรือน และอาจรวมถึงการค้าขายเล็กๆ น้อยๆ เพื่อสนับสนุนสามีของตน ความเป็นแรงงานดังกล่าวไม่ได้หยุดนิ่ง กล่าวคือแรงงานหญิงได้มีบทบาทมากขึ้น จนถึงกับมีบทบาทในการซื้อขายที่ดิน บริจาคเพื่อสาธารณกุศลที่สัมพันธ์กับรัฐ แต่ในเวลาต่อมาบทบาทดังกล่าวก็ลดลงสวนทางกับระบบราชการที่ใหญ่โตมากขึ้น แต่ในอีกด้านภายใต้เพศสภาพของความเป็นชายขอบของแรงงานนี้ ยังมีแรงงานชายขอบอีกประเภทคือ แรงงานชายโสดที่มีพันธะและมี “ค่าใช้จ่าย” ที่ต้องรับผิดชอบมากกว่าแรงงานชายที่มีครอบครัวที่มีฝ่ายหญิงเป็นแรงงานอีกประเภทที่ช่วยกันทำมาหากินแบ่งเบาภาระในการชำระภาษีและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่รัฐต้องการ
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (15 สิงหาคม ร.ศ. 117)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 17 (10 มิถุนายน ร.ศ. 119)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 17 (27 พฤษภาคม ร.ศ. 119)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 17 (1 กรกฎาคม ร.ศ. 119)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 17 (13 มกราคม ร.ศ. 119)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 18 (26 มกราคม ร.ศ. 120)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (2 เมษายน ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (30 เมษายน ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (7 พฤษภาคม ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (14 พฤษภาคม ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (21 พฤษภาคม ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (4 มิถุนายน ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (11 มิถุนายน ร.ศ.130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (18 มิถุนายน ร.ศ.130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (2 กรกฎาคม ร.ศ.130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (30 กรกฎาคม ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (9 กันยายน ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 28 (24 กันยายน ร.ศ. 130)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (26 มกราคม ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (26 มกราคม ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (8 กันยายน ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (15 กันยายน ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (1 ธันวาคม ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (13 ธันวาคม ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 29 (2 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 131)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (15 มีนาคม พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (3 สิงหาคม พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (19 ตุลาคม พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (26 ตุลาคม พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 30 (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (19 เมษายน พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (26 เมษายน พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (26 กรกฎาคม พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (23 สิงหาคม พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2457)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 32 (12 กันยายน พ.ศ. 2458)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 32 (31 ตุลาคม พ.ศ. 2458)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 32 (12 ธันวาคม พ.ศ. 2458)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 33 (9 เมษายน พ.ศ. 2459)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 33 (22 ตุลาคม พ.ศ. 2459)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 33 (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 33 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2459)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 33 (17 กันยายน พ.ศ. 2459)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 33 (24 ธันวาคม พ.ศ. 2459)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 34 (20 พฤษภาคม พ.ศ. 2460)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 34 (2 กันยายน พ.ศ. 2460)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 35 (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 36 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2462)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 38 (23 กันยายน พ.ศ. 2464)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 42 (28 มีนาคม พ.ศ. 2468)
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 61 ตอนที่ 6 (18 มกราคม พ.ศ. 2487)
กุลลดา เกษบุญชู. “สนธิสัญญาเบาว์ริ่งกับการปฏิวัติของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” ยุโรปกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: โอกาส ความขัดแย้ง และการเปลี่ยนแปลง เอกสารการประชุมทางวิชาการชุดโครงการวิจัย, 18-20 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพมหานคร.
จิรานุช โสภา. “บันทึกเรื่องผู้หญิงในประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2542.
จี. วิลเลียม สกินนเนอร์, พรรณี ฉัตรพลรักษ์และคณะ, แปล. สังคมจีนในไทย ประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2548.
เจมส์ ซี. อินแกรม. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในประเทศไทย 1850 -1970. (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552).
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. “บทบาทและสถานภาพของผู้หญิงกับการเมืองในประวัติศาสตร์สังคมไทย.” ศิลปวัฒนธรรม, 23: 7 (พฤษภาคม 2545): 62-70.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. “สิทธิพลเมืองในการแต่งงานข้ามวัฒนธรรมช่วงก่อนพ.ศ. 2475.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 7: 3 (2554).
เดวิด บรูซ จอนสตัน, พรภิรมณ์ เอี่ยมธรรม และคณะ, แปล. สังคมชนบทและภาคเศรษฐกิจข้าวของไทย พ.ศ. 2473-2423. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2530.
ตวงทอง เหล่าวรรธนะกูล. “ผู้หญิงสามัญชนในเมืองแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาสมัยรัชกาลที่ 3-5.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2539.
เทพ บุญตานนท์. การเมืองในการทหารไทยสมัยรัชกาลที่ 6. กรุงเทพฯ: มติชน, 2559.
นิโคลาส ทาร์ลิ่ง บรรณาธิการ. ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฉบับเคมบริดจ์ เล่มสอง จากประมาณคริสต์ศักราช 1500 ถึง ประมาณคริสต์ศักราช 1800. แปลโดย มัทนา เกษกมล. กรุงเทพฯ: สําานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2552.
เนื่อง นิลรัตน์, ม.ล. ชีวิตในวัง. กรุงเทพฯ: สําานักพิมพ์ศรีสารา, 2541.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเคอร์. เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม, 2542.
พรศิริ บูรณเขตต์. “นางใน: ชีวิตทางสังคมและบทบาทในสังคมไทยสมัยรัชกาลที่ 5.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.
ภารดี มหาขันธ์. “การปฏิรูปการทหารไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2518.
ภาวิณี บุนนาค. “ผู้หญิงในกระบวนการยุติธรรมในสังคมไทย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึง พ.ศ.2478: ศึกษาจากคดีความและฎีกา.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554 .
สำนักจดหมายเหตุแห่งชาติ. ร.7 ก13/1 เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 7 กระทรวงกลาโหม เรื่อง การจัดราชการทหารบก.
อัญชลี สุสายัณห์. ความเปลี่ยนแปลงของระบบไพร่และผลกระทบต่อสังคมไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊ค, 2552.
Hong, Lysa. “Palace Women at the Margins of Social Changes: An Aspect of the Politics of Social History in the Reign of King Chulalongkorn.” Journal of Southeast Asian Studies. 30: 2 (September 1999).
Koizumi, Junko. “King’s Manpower Constructed: Writing he History of the Conscription of Labour in Siam”. South East Asia Research 10: 1 (2002).
Ouyyanont, Porphant. “Bangkok as a Magnet for Rural Labour: Changing Conditions, 1970-1900”. Southeast Asian Studies, 1 :36, (June 1998).
Loos, Tamara. “Issaraphap: Limits of Individual Liberty in Thai Jurisprudence.” Crossroads: An Interdisciplinary Journal of Southeast Asian Studies 12:1 (1998).
Loos, Tamara. “Sex in the Inner City: The Fidelity between Sex and Politics in Siam.” The Journal of Asian Studies 64: 4 (1999).
กองทัพภาคที่ 4. “ประวัติความเป็นมาในอดีต”. สืบค้นจาก http://www.army4 .net/histroy.php. (20 มีนาคม 2555) (สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2559).