พัฒนาการจากสโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สู่องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในบริบททางการเมืองระหว่างปี 2484-2516

Main Article Content

พรรณ์ทิพย์ เพ็ชรวิจิตร

บทคัดย่อ

บทบาทของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวิกฤตการณ์เมืองไทยในเดือนตุลาคม 2516 เป็นที่รับรู้ในวงกว้าง บทบาทและแนวคิดของนักศึกษาธรรมศาสตร์ได้รับการศึกษาและนำเสนออย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม องค์กรนักศึกษาของสถาบันนี้เป็นโครงสร้างสำคัญในการทำกิจกรรมของนักศึกษาธรรมศาสตร์ ถูกสร้างและพัฒนาควบคู่กับมหาวิทยาลัยและนักศึกษามาหลายทศวรรษแต่กลับไม่ได้รับความสนใจศึกษาเท่าที่ควร แม้ว่าองค์กรนี้จะมีผลกระทบต่อทั้งสถาบันการศึกษาและการเมืองระดับชาติ บทความนี้จึงมุ่งศึกษากำเนิดและพัฒนาการขององค์กรนักศึกษาในบริบทประวัติศาสตร์การเมืองที่มีความสำคัญกับทั้งนักศึกษาธรรมศาสตร์และของคนไทย เพื่อแสดงให้เห็นว่าองค์กรนักศึกษานี้เป็นแรงผลักดันที่อยู่เบื้องหลังการเคลื่อนไหวทางการเมืองของนักศึกษามาโดยตลอด

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กัณหา แสงรายา. “สังเขปวรรณกรรมไทยสมัยใหม่ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึง ยุค ‘ป่าแตก’ .” ใน ปริทรรศน์วรรณกรรมไทยสมัยใหม่, 13–43. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิชาการ 14 ตุลา, 2546.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. ธรรมศาสตร์และการเมืองเรื่องพื้นที่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 2548.

—. รายงานการวิจัย เรื่อง ประวัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: เสนอต่อสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2532.

ประยงค์ คงเมือง. ธรรมศาสตร์ประกาศนาม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2547. (ครบรอบ 70 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

ประจวบ อัมพะเศวต. พลิกแผ่นดิน ตอน ขบวนการสังคมนิยมในไทย. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2546.

———. พลิกแผ่นดิน ประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475 - 14 ตุลาคม 2516. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. “ก่อนจะถึง 14 ตุลา: ความเคลื่อนไหวทางการเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนภายใต้ระบอบเผด็จการทหาร (พ.ศ. 2506-2516).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.

———. และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การอภิปรายเรื่องธรรมศาสตร์กับการปกครองในรูปองค์การนักศึกษา. กรุงเทพฯ, 2515.

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. มหาวิทยาลัยชีวิต. กรุงเทพ: สามัญชน, 2546.

“ดร.อดุล:มิได้คัดค้านเลือกตั้งองค์การแต่อยากให้รอฟังสภาก่อน.” มหาวิทยาลัย (กุมภาพันธ์ 2516): 1.

“ธรรมนูญองค์การน.ศ.ม.ธ.อาจเป็นหมันด้วยเหตุสุดวิสัย.” มหาวิทยาลัย (กรกฎาคม 2515): 1.

“นายก ส.ม.ธ.” มหาวิทยาลัย (สิงหาคม 2515): 4.

“นายก ส.ม.ธ. เลือกตั้งองค์การ 2 มีนาคมแน่นอน.” มหาวิทยาลัย (กุมภาพันธ์ 2516): 1.

“นายก ส.ม.ธ. ว่า "นักศึกษาไม่สนใจนบายเท่ากับละเลยสิทธิของตน".” มหาวิทยาลัย (กรกฎาคม 2514): 1และ12.

“เลื่อนเลือกตั้ง อ.ม.ธ. อ้างว่าอาจเป็นโมฆียะ.” มหาวิทยาลัย (มีนาคม 2516): 1 และ 12.

“สโมสรชุดสุดท้าย?” มหาวิทยาลัย (มิถุนายน 2514): 3และ10.

สัมพันธ์ รัตนติลก ณ ภูเก็ต. “นายกส.ม.ธ. นายสัมพันธ์ เศรษฐาภรณ์.” มหาวิทยาลัย (สิงหาคม 2515): 4.

เสนอ สามัญบุตร. “องค์การฯกับการแสวงหาของนักศึกษา.” มหาวิทยาลัย (มกราคม 2516): 1.

"องค์การ น.ศ. ผ่านสภามหาวิทยาลัยแล้วคาดเลือกตั้งใน 2 มีนาคมนี้ แน่นอน." มหาวิทยาลัย (กุมภาพันธ์ 2516): 1 และ 10.

“องค์การนักศึกษา ม.ธ อาจเสร็จทันในปีหน้า.” มหาวิทยาลัย (กรกฎาคม 2515): 1 และ 12.

“องค์การฯกับการแสวงหาของนักศึกษา.” มหาวิทยาลัย (มกราคม 2516): 1.

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, B 1.1.13/70 “สโมสรนักศึกษา มธ. พรรคนักศึกษาในมหาวิทยาลัย.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.2/3 กล่อง 1 “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยสโมสรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พุทธศักราช 2502.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (1) ฆสบ.3.7/1 “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการปกครองนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พุทธศักราช 2516.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.1/27 กล่อง 3 “ขอเสนอข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับร่างองค์การฯ ข้อ 13.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.1/27 กล่อง 3 “โครงร่างองค์การนักศึกษา.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.1/27 กล่อง 3 “ชี้แจงข้อเท็จจริงการร้องเรียนของนายก สมธ.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.1/27 กล่อง 3 “แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษา (ปีการศึกษา 2516).”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.1/27 กล่อง 3 “เรื่องนักศึกษาอภิปรายเรื่องข้อบังคับสโมสรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พุทธศักราช 2501.”

หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์, (2) มธ. 2.10.1/34 กล่อง 3 “แต่งตั้งกรรมการสโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.”