ประวัติศาสตร์ที่ไม่ได้ถูกบันทึก เหมืองดีบุกและชุมชนจีนในคาบสมุทรมลายูในศตวรรษที่ 19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาเรื่องราวของเหมืองดีบุกในบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรมลายูในช่วงศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 โดยเน้นที่แถบเมืองยะลาและรามัน (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดยะลา) ซึ่งติดกับชายแดนมาเลเซียหรือบริติชมลายาในตอนนั้น บริเวณแถบนี้มีแหล่งแร่ดีบุกที่สำคัญอยู่หลายแห่งและมีคนจีนเข้ามาหาแร่มาเป็นเวลานาน แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันเท่าใดนักเนื่องจากงานเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเหมืองดีบุกและนายทุนจีนที่เข้าไปทำเหมืองดีบุกมักเน้นไปที่ฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรมลายูอย่างเปรัค สลังงอร์ ภูเก็ตและระนอง การศึกษาเรื่องของเหมืองในบริเวณนี้ทำให้เห็นถึงรูปแบบการทำเหมืองดีบุกและการจัดการภายในเหมืองในบริเวณตอนในที่ไม่เหมือนกับเหมืองในฝั่งตะวันตกเนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพและภูมิหลังทางการเมืองต่างกัน เหมืองในแถบยะลาและรามันมีเจ้าเมืองท้องถิ่นชาวมลายู เจ้าภาษีและกงสีชาวจีนเป็นผู้ร่วมทุนแบ่งผลประโยชน์กัน แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นคู่แข่งกันด้วย แต่ละฝ่ายต่างก็มีบทบาทในด้านการเมืองและเศรษฐกิจและมีความเกี่ยวพันกันอย่างแยกไม่ออก บทความนี้ชี้ว่าสังคมในเหมืองแร่นั้นแม้จะอยู่ไกลจากศูนย์กลางความเจริญแต่มีความเป็นพหุสังคมสูง มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานและการข้ามเขตแดนของของคนในบริเวณนั้นอยู่ตลอดเวลา พูดได้ว่าการศึกษาเรื่องของเหมืองและสังคมของคนในนั้นทำให้เราต้องกลับมาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐชาติและเขตแดนใหม่
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ม-ร.5 ม/89/2 เรื่อง รายงานพระยาศักดิ์เสนีถึงกรมหลวงดำรงราชานุภาพ ปี 1907 (16 ตุลาคม ร.ศ 126).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ม-ร.5 ม 2.14/50 เรื่อง Report on a Journey through the Malay Peninsula by Phya Sri Sahadheb and J. Westengard (24 ธันวาคม ร.ศ 127).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ร. 5 ม. 49/74 เรื่อง รายงานไปรเวทกรมหลวงดำรงราชานุภาพถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (10 ธันวาคม ร.ศ119).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ม-ร.5 ม49/69 เรื่อง รายงานเรื่องคนจีนจากเประมาตั้งกงสีในเขตรามัน (26 กุมภาพันธ์ ร.ศ 111-22 มิถุนายน ร.ศ 112).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ม-ร.5ม 49/71 เรื่อง รายงานเรื่องอังกฤษรุกแดนเมืองรามัน (3 พฤษภาคม ร.ศ 114).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ร. 5 ม. 49/76 เรื่อง รายงานกรมหลวงดำรงราชานุภาพถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่องแต่งตั้งพระยารามันคนใหม่ (9 เมษายน ร.ศ121).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงมหาดไทย ร.5 ม. 49/83 เรื่อง รายงานของหลวงราษฎร์ภารกิจถึงกระทรวงมหาดไทย (20 สิงหาคม ร.ศ129).
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 กระทรวงเกษตรพานิชยาการ ม-ร.5กษ/5 เรื่อง พระยาสุรศักดิ์มนตรีชี้แจงเรื่องประทานบัตร์ทำการแร่เหมืองยะลา เทพา รามันห์ (11 มกราคม ร.ศ 108-22 มีนาคม ร.ศ113).
National Archive of the United Kingdom, Foreign Office, FO276.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.ศ. 121-122. เล่ม 2. กรุงเทพ : คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย สำนักนายกรัฐมนตรี, 2546.
พรรณี อวนสกุล. “กิจการเหมืองแร่ดีบุกกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ 2411-2474.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, แผนกวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522.
พรรณงาม เง่าธรรมสาร. "การปกครองหัวเมืองภาคใต้ทั้ง 7 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว." วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, แผนกวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.
ภูวดล ทรงประเสริฐ. ทุนจีนปักษ์ใต้ ภูมิหลังเบื้องลึกทุนใหญ่โพ้นทะเล. บรรณาธิการโดย จิรพรรณ อัญญะโพธิ์. กรุงเทพฯ : ทิปปิ้ง พอยท์, 2546.
ปิยดา ชลวร. ประวัติศาสตร์ปัตตานีในคริสต์ศตวรรษที่ 16-18 : จากบันทึกของจีน ริวกิว และญี่ปุ่น. เชียงใหม่ : ซิลค์เวอร์ม, 2554.
________. “เรื่องเล่าจากเหมืองดีบุก : สังคมและการเมืองในชายแดนสยาม-มาเลเซียในยุคอาณานิคม." รัฐศาสตร์สาร 38, ฉ. 3 (กันยายน -ธันวาคม 2560): 60-87.
ศุลีมาน นฤมล วงศ์สุภาพ. สาวใยตระกูล "งานทวี" แลวิถีและพลังมังกรใต้. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2544.
ศุภการ สิริไพศาล. พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจท้องถิ่นในภาคใต้ของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560.
สายจิตต์ เหมินทร์. “การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานูและปลิสของไทยให้แก่อังกฤษในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2507.
พรรณงาม เง่าธรรมสาร. "การปกครองหัวเมืองภาคใต้ทั้ง 7 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว." วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.
“หลวงสำเร็จกิจกรจางวาง ทายาทเมืองปัตตานี.” ทายาทหลวงสำเร็จกิจกรจางวาง เมืองปัตตานี. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2561, www.kananurak.com.
Andaya, Barbara W. Perak, the Abode of Grace: A Study of an Eighteenth-Century Malay State. Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1979.
Andaya, Barbara W. and Andaya, Leonard Y. A History of Malaya. London: Palgrave Macmillan, 1982.
Bourke, W. Walter. “Some Archaeological Notes on Monthon Puket.” Journal of the Siam Society 2, no. 1 (1905): 49-259.
Cameron, William. “On the Patani.” Journal of Strait Branch of the Royal Asiatic Society 11 (1883): 121-142.
Cushman, Jennifer. Family and State: The Formation of a Sino-Thai Tin-mining Dynasty 1797-1932. Singapore: Oxford University Press, 1991.
Dodge, Nicholas. “Mineral Production on the East Coast of Malaya in the Nineteenth Century.” Journal of the Malaysian Branch of the Royal Asiatic Society 50, no. 2 (1977).
Everitt, W.E. “The Rahman Mines at Intan,” The Malayan Historical Journal 2 (1955): 104-107.
Heal, John H. “The Tin Mining Industry.” in The Political Economy of Siam, 1851-1910, edited by Chattip Nartsupha and Suthy Prasartset, 159-174. Bangkok: The Social Science Association of Thailand, 1981.
Heidhues, Mary Somers. “Chinese Settlement in Rural Southeast Asia : Unwrittten Histories.” in Sojourners and Settlers- Histories of Southeast Asia and the Chinese, in honor of Jennifer Cushman, edited by Anthony Reid and Kristine Alilunas-Rodgers. St Leonards, NSW : Allen & Unwin, 1996.
Helten, Jean-Jacques van; and Jones, Geoffrey Jones. “British business in Malaysia and Singapore since the 1870s.” in British Business in Asia since 1860, edited by R.P. T. Davenport-Hines and Geoffrey Jones. Cambridge: Cambridge University Press, 1989.
Ingram, James C. Economic Change in Thailand 1850-1970. California: Stanford University Press, 1971.
King, Philip. “From periphery to centre: shaping the history of the central peninsula.” PhD diss., University of Wollongong, 2006.
________. “Chinese Enterprise and Malay Power: Nineteenth Century Central Malaya from a Regional Perspective.” Chinese Southern Diaspora Studies 1 (2007): 97-105.
Koh, Keng We. “Familiar strangers and stranger-kings: Mobility, diasporas, and the foreign in the eighteenth-century Malay world.” Journal of Southeast Asian Studies 48, no.3 (2017): 390-413.
Loh, Francis Kok-Wah. Beyond the Tin Mines: Coolies, Squatters and New Villagers in the Kinta Valley, Malaysia, c. 1880-1980. Melbourne: Oxford University Press Australia, 1989.
Marks, Tom. The British Acquisition of Siamese Malaya (1896-1909). Bangkok: White Lotus Press, 1997.
Maxwell, W.E. “The Dutch in Perak.” Journal of the Straits Branch of the Royal Asiatic Society 10 (1882): 245-267, 1882.
Milner, Anthony. Kerajaan – Malay Political Culture on the Eve of Colonial Rule. Kuala Lumpur: Strategic Information and Research Development Center, 2016.
Reid, Anthony. “Chinese Mining Frontier in Southeast Asia.” in Chinese Circulations: Capital, Commodities, and Networks in Southeast Asia, edited by Eric Tagliacozzo and Wen-Chin Chang. Durham and London: Duke University Press, (2011): 22-36.
Skeat, W.W. “Reminiscences of the Expedition by the late W.W. Skeat, M.A, leader of the expedition.” Journal of the Malayan Branch of the Royal Asiatic Society 26, no. 4 (1953): 9-147.
Smyth, H. Warington. Five Years in Siam : from 1891-1896, vol. 1-2. Bangkok: White Lotus, 1994.
Tetsuro, Tojo. “Jukyuseki kouhan Malay Hantou Perak ni okeru kajin kousangyo – roudoushakoyou houhou no henka to shissou mondai wo chushin ni.” Shigaku Zasshi 117, no. 4 (2008): 1-25.
Trocki, Carl. “Chinese Revenue Farms and Borders in Southeast Asia.” Modern Asian Studies 43, no. 1 (2009): 335-362.
Wong, Lin Ken. The Malayan Tin Industry to 1914 : with special reference to the states of Perak, Selangor, Negri Sembilan and Pahang. Arizona: University of Arizona Press, 1965.
Wu, Xiao An. Chinese business in the making of a Malay state 1882-1941 Kedah and Penang. Singapore: NUS Press, 2010.
Ueda, Yoko. “Sino-Thai Entrepreneurs and the Provincial Economies in Thailand” in Alternate Identities- The Chinese of Contemporary Thailand, edited by Tong Chee Kiong and Chan Kwok Bun. Singapore: Brill Academic Publishers; Time Academic Press, 2001.
Yip, Yat Hoong. The Development of the Tin Mining Industry of Malaya. Kuala Lumpur: University of Malaya Press, 1969.