ลัทธิทรอตสกี้ (Trotskyism) ในไทยยุคหลัง-พคท. (“post-พคท.”)
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในช่วงนับตั้งแต่ปี 2524 เป็นต้นมา ขณะที่ทฤษฎีกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินาของ พคท. ที่ให้ความสำคัญกับการวิพากษ์ “ระบบศักดินา” ไปพร้อมๆกันกับการวิพากษ์ “ระบบทุนนิยม” กำลังตกต่ำลงจนถึงขีดสุดปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยบางส่วนได้พยายามนำ เอาลัทธิทรอตสกี้ (Trotskyism) เข้ามาเผยแพร่ในสังคมไทย ลัทธิทรอตสกี้ (Trotskyism) หมายถึงกระแสความคิดของนักทฤษฎีคนสำ คัญอย่างเลออน ทรอตสกี้ (Leon Trotsky) และบรรดานักลัทธิมาร์กซรุ่นหลังที่รู้จักกันต่อมาในฐานะนักลัทธิทรอตสกี้ (Trotskyist) เช่นเอิร์นเนสท์ เมนเดล (Ernest Mandel) และไอแซค ดอยท์เชอร์ (IsaacDeutscher) ที่พยายามยืนยันและพัฒนาความคิดทฤษฎีของทรอตสกี้ด้วยการนำ เข้าลัทธิทรอตสกี้มีหลายรูปแบบ มีตั้งแต่การเขียนงานในเชิงชีวประวัติการเขียนบทความในเชิงแนะนำ เนื้อหาทางทฤษฎี การแปลงานเขียนประยุกต์ใช้ทฤษฎี ไปจนถึงการอ้างอิงงานเขียนชิ้นสำคัญๆ ของทรอตสกี้และนักลัทธิทรอตสกี้ด้วย ผลสะเทือนของการพยายามนำ เข้า “ลัทธิทรอตสกี้” สู่สังคมไทยดังกล่าว ทำให้ปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยลดความสำ คัญต่อการวิพากษ์ “ระบบศักดินาไทย” ลง แล้วหันไปให้ความสำคัญกับการวิพากษ์ลัทธิสตาลินและลัทธิเหมาเจ๋อตุงไปพร้อมๆ กับการวิพากษ์ระบบทุนนิยมแทน ขณะเดียวกัน พวกเขาก็เสนอว่าขบวนการสังคมนิยมทั้งภายในและในต่างประเทศที่กำ ลังเผชิญกับภาวะวิกฤตอยู่นั้น ควรที่จะหันมาสนับสนุนแนวทางกาปฏิวัติสังคมนิยมตาม “ทฤษฎีการปฏิวัติถาวร” ของทรอตสกี้เป็นหลัก อย่างไรก็ตาม กระแสลัทธิทรอตสกี้ที่ว่านี้ได้รับความสนใจจากปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยอย่เู พียงในชว่ งเวลาสั้นๆ เท่านั้น ก่อนที่จะตกต่ำลงไปอย่างรวดเร็วในช่วงปลายทศวรรษ 2520 พร้อมๆ กับลัทธิมาร์กซสายอื่นๆ ที่บรรดาปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยพยายามนำ เข้าสู่สังคมไทยภายหลังการล่มสลายของ พคท.
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
กนก สุวรรณสิทธิ์. “วิจารณ์เรื่อง ความอับจนของลัทธิมาร์กซ โดย ปรีดี บุญซื่อ เขียน.” ปาจารยสาร 8, ฉ.4 (สิงหาคม-กันยายน 2524).
กนกศักดิ์ แก้วเทพ. “วิจารณ์เรื่อง Women and the Fammily โดย Leon Trotsky.” วารสารธรรมศาตร์ 11, ฉ.3 (กันยายน 2525).
กองบรรณาธิการวารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. “บันทึกการสัมมนา วิกฤตการณ์ทุนนิยมโลกกับสังคมไทย.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 4, ฉ.2-3 (มกราคม-มิถุนายน 2528).
“วิวาทะว่าด้วยรัฐไทย.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 5, ฉ.1-2 (ตุลาคม 2528-มีนาคม 2529): 71-72.
กําชัย หลายสรรพสิริ, สุวินัย ภรณวลัย, และโสภณ ฐิตะสัจจา, บรรณาธิการ. วิกฤตการณ์เศรษฐศาสตร์ปัจจุบัน 100 ปีหลังมาร์กซ์และเคนส์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2527.
เกษียร เตชะพีระ. “วิกฤตอุดมการณ์สังคมนิยมในหมู่นักศึกษาปัญญาชนไทย.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 3, ฉ.3 (มกราคม-มีนาคม 2527).
เกษียร เตชะพีระ. “วิจารณ์เรื่อง ปีศาจวิทยาของการเปลี่ยนแปลง โดย ปรีดี บุญซื่อ.” วารสารธรรมศาสตร์11, ฉ.3 (กันยายน 2525).
เกษียร เตชะพีระ. “วันสังหารเลออน ทรอตสกี้.” วารสารธรรมศาสตร์ 12, ฉ.4 (ธันวาคม 2526).
เกษียร เตชะพีระ. “ความแปลกแยกและปัญหามนุษยธรรมในระบบสังคมนิยม.” วารสารธรรมศาสตร์ 12, ฉ.2 (มิถุนายน 2526).
เกษียร เตชะพีระ. ความคิดทางจริยศาสตร์ของทรอตสกี้ และ “การอรรถาธิบายลัทธิสตาลินของทรอตสกี้” ของเพอรี่ แอนเดอสัน. แปลโดย เกษียร เตชะพีระ. กรุงเทพฯ: กลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528.
เกษียร เตชะพีระ. “ประชาธิปไตยในโลกที่สาม บทวิเคราะห์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองมาร์กซิต์.” ใน “ครบรอบ 12 ปี ปรัชญาและความคิด,” ฉบับพิเศษ, รัฐศาสตร์สาร 12-13 (2529-2530): 333-350.
ถาวร สุขากันยา. “วิจารณ์เรื่อง ทรอตสกี้: 1879-1917 โดย สัญชัย สุวังบุตร.” วารสารธรรมศาสตร์ 10, ฉ.3 (กันยายน 2524).
ทวีป วรดิลก. ปรัชญาว่าด้วยความผิดแปลกสภาวะ. กรุงเทพฯ: วลี, 2524.
ธิกานต์ ศรีนารา. “ความคิดทางการเมืองของ “ปัญญาชนฝ่ายค้าน” ภายหลังการตกต่ำของกระแสความคิดสังคมนิยมในประเทศไทย พ.ศ. 2524-2534.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2555.
นักข่าวนอกบัญชี. “บทปริทัศน์รอบ 100 ปี มาร์กซ์: ไปร่วมประชุมสัมมนา 100 ปี ของคาร์ล มาร์กซ์ ที่เมลเบิร์น.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 3, ฉ.1 (กรกฎาคม-กันยายน 2526): 88-89.
บิล บรุกเกอร์. “ทัศนะของโซเวียตละจีนว่าด้วยการปฏิวัติและสังคมนิยม: ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับปัญหาในการวิเคราะห์เชิงพัฒนาการและการวิเคราะห์เชิงโครงสร้าง.” แปลและเรียบเรียงโดย จีรติ ติงศภัทิย์, วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 2, ฉ.2 (สิงหาคม 2525): 99-127.
ปรีดี บุญชื่อ. ความอับจนของลัทธิมาร์กซ์. กรุงเทพ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2524.
ปรีดี บุญซื่อ (แปล). “บทสนทนากับ เลสเซ็ค โคลาโควสกี้ ‘ปีศาจในประวัติศาสตร์’.” ปาจารยสาร 8, ฉ.4 (สิงหาคม-กันยายน 2524): 42-65.
ปรีดี บุญชื่อ. ปีศาจวิทยาของการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพ: เคล็ดไทย, 2525.
พรชัย คุ้มทวีพร. “จากความอับจนของลัทธิมาร์กซ์ ถึง ปีศาจวิทยาของการเปลี่ยนแปลง.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 2, ฉ.3 (กันยายน-พฤศจิกายน 2525) หรือ (มกราคม 2526).
พรชัย คุ้มทวีพร และ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ. “บททดลองเสนอ: ทฤษฎีว่าด้วยสังคมนิยม.” วารสารธรรมศาสตร์ 12, ฉ.2 (มิถุนายน 2526).
วีรยา สัจจพิจารณ์. “ความอับจนของลัทธิมาร์กซ์: ก้าวใหม่ของปรีดี บุญซื่อ.” โลกหนังสือ 4, ฉ.11 (สิงหาคม 2524): 72-84.
สมเกียรติ วันทะนะ. “ข้อคิด 10 ประการเกี่ยวกับการวิเคราะห์สังคมในแนวทางลัทธิมาร์กซ์.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 1, ฉ.1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2524): 40-41.
สมชาย สุวรรณศรี. “วิจารณ์เรื่อง ทรอตสกี้: 1879-1917 โดย สัญชัย สุวังบุตร.” ปาจารยสาร 8, ฉ.5 (ตุลาคม-พฤศจิกายน, 2524): 99.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ปัญญาชน 14 ตุลา พันธมิตรฯ และแอ๊กติวิสต์ ‘2 ไม่เอา’.” ในรัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ:
ฟ้าเดียวกัน, 2550. สัญชัย สุวังบุตร. ทรอตสกี้ 1879-1917. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2524.
สัญชัย สุวังบุตร. “วิจารณ์เรื่อง Tragedy of Leon Trotsky โดย Ronald Segal.” วารสารธรรมศาตร์ 12, ฉ.2 (มิถุนายน 2526): 156-158.
สุรพงษ์ ชัยนาม. มากซ์และสังคมนิยม. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, 2524.
สุวินัย ภรณวลัย. บททดลองเสนอว่าด้วยทฤษฎีสังคมนิยมในแง่ของวัตถุนิยมประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524, 127.
สุวินัย ภรณวลัย. “ความอับจนของลัทธิเหมา หรือความอับจนของลัทธิมาร์กซ์: บทวิเคราะห์โดยสังเขปของการปฏิวัติจีน, ลัทธิเหมาและเศรษฐกิจจีน ภายหลังการปฏิวัติจนถึงปัจจุบัน.” วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 1, ฉ.5-6 (ตุลาคม-ธันวาคม 2524): 8.
สุวินัย ภรณวลัย. “ประวัติศาสตร์ขบวนการความคิดสังคมนิยมโดยสังเขป พลวัตร (Dynamic) ของความคิดสังคมนิยมตั้งแต่มาร์กซ์ (ตอนที่ 2 ลัทธิมาร์กซ์ที่ไร้มาร์กซ์).” ปาจารยสาร 9, ฉ.3 (มีนาคม 2525).
สุวินัย ภรณวลัย. “เศรษฐกิจญี่ปุ่นในทศวรรษที่ 1980 กับทุนนิยมโลก.” ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 10 ปี หลังการต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น. บรรณาธิการโดย บัญญัติ สุรการวิทย์. กรุงเทพฯ: นําอักษรการพิมพ์, 2526.
สุวินัย ภรณวลัย. “ลัทธิมาร์กซ์ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต.” วารสารธรรมศาสตร์ 12, ฉ.2 (มิถุนายน 2526).
สุวินัย ภรณวลัย. กระแสความคิดที่กำลังข้ามพ้นความคิดสังคมนิยม: บทศึกษาความคิดของ คาร์ล โพลันยี (Karl Polanyi กับ คาร์ล วิตโฟเกล (karl Wittfogel). ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 2529.
สุวินัย ภรณวลัย. “ความคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของทรอตสกี้.” วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ 4, ฉ.1 (มีนาคม 2529): 92-136.
สุวินัย ภรณวลัย. ประวัติศาสตร์ขบวนการความคิดสังคมนิยมโดยสังเขป ตอน ทัศนะของมาร์กซ์กับลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิมาร์กซ์ที่ไร้มาร์กซ์ ทฤษฎีปฏิบัติการมวลชนของโรซ่า ลุกเซมเบอร์ก บทวิเคราะห์ทฤษฎีองค์การของเลนิน ทฤษฎีการปฏิวัติถาวรของทรอตสกี้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529.
อาคม ชนางกูร (เกษียร เตชะพีระ). “ทางเลือกของพลังประชาธิปไตย.” ปริทัศน์ 1, ฉ.7 (มิถุนายน 2525): 28-32.
เอิร์นเนสท์ เมนเดล. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์. แปลโดย อำไพ รุ่งอรุณ. กรุงเทพฯ: ดวงกมล, 2518.
เอิร์นเนสท์ เมนเดล. หลักเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์เบื้องต้น. แปลโดย ทวี หมื่นนิกร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์, 2518.
เอิร์นเนสท์ เมนเดล. เศรษฐศาสตร์การเมืองเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2528.
เอิร์นเนสท์ เมนเดล. เศรษฐศาสตร์การเมืองเบื้องต้น. แปลโดย กนกศักดิ์ แก้วเทพ. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523.
เอิร์นเนสท์ เมนเดล. เศรษฐศาสตร์มาร์กซิสม์. แปลโดย ขวัญสุดา รัตนชัย. กรุงเทพฯ: เรียวไผ่, 2524.
เอิร์นเนสท์ มันเดล. “รอบศตวรรษแห่งลัทธิมาร์กซ์.” แปลโดย ไภรพ รุจิโรภาส, วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง 3, ฉ.2 (ตุลาคม-ธันวาคม 2526): 80-81.
Anderson, Perry. Consideration on Western Marxism. London: NLB, 1976.
Callinicos, Alex. Trotskyism. Buckingham: Open University Press, 1990.
Mandel, Ernest. “Trotskyists and the Resistance in World War Two.” http://www.marxists.org/archive/mandel/1976/xx/trots-ww2.htm