สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เพิ่งสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2453 - 2468

Main Article Content

วิศรุต บวงสรวง

บทคัดย่อ

บทความนี้ ต้องการชี้ให้เห็นว่าศาสนวัตถุและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สามารถนำมา ใช้ในการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองได้ โดยในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยเลือกศึกษาศาสนวัตถุและสิ่งศักดิ์สิทธิในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงเป็นผู้สถาปนาอุดมการณ์ชาตินิยมที่เน้น “ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์” ในรัชกาลนี้ ได้มีการประดิษฐ์สร้างศาสนวัตถุตามคติพุทธศาสนา มีการค้นพบโบราณวัตถุที่มีรูปสัญลักษณ์ตามคติพราหมณ์ - ฮินดู และอาวุธโบราณของพระมหากษัตริย์นักรบในอดีต รวมถึงดวงวิญญาณลี้ลับผู้จงรักภักดี สรรพวัตถุเหล่านี้ รัชกาลที่ 6 ทรงนำมาอธิบายส่งเสริมสถานะของพระองค์ให้สูงส่งยิ่งขึ้นด้วยการตีความหมายพระพุทธรูปตามคติธรรมราชา สถานะสมมติเทพที่สัมพันธ์กับโบราณวัตถุ และภาพลักษณ์ของวีรกษัตริย์นักรบด้วยศาสตราวุธโบราณ 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

การถือน้ำพิเศษกองเสือป่า มณฑลนครไชยศรี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 28 ตอนที่ ง (วันที่ 24 กันยายน ร.ศ. 130): 1331-1334.

การถือน้ำสมาชิกเสือป่า, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 28 ตอนที่ ง (10 มีนาคม ร.ศ.130): 2642-2643.

การพระราชพิธีถือน้ำพิเศษเสือป่า และตั้งเจ้าพระยา, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 30 ตอน ง (วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2456): 2788-2791.

กำหนดการรับพระสุพรรณบัตรเฉลิมพระนาม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ), ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 5 ตอนที่ 47 (วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2431): 415.

ธงพระกระบี่ธุชพระครุฑพาหน้อย แลพระแสงศรกำลังราม, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 28 ตอนที่ ง. (วันที่ 9 เมษายน ร.ศ. 130): 37-42.

พระบรมราชโองการ ประกาศ ข้อบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ พระพุทธศักราช 2461, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 35 ตอนที่ ก (16 เมษายน พ.ศ. 2461): 11-68.

พระบรมราชโองการ ประกาศ เฉลิมพระปรมาภิไธย, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 33 ตอนที่ ก (วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459): 212-217.

พระราชพิธีพุทธาภิเษก แลสมโภชพระพุทธมณีรัตนปฏิมากร (แก้วมรกฏน้อย), ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 31 ตอนที่ ง (วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2457): 2327-2336.

เสด็จพระราชดำเนิรไปนมัสการพระเจดีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชมีไชยชนะยุทธหัตถี, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 30 ตอนที่ ง (วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2456): 2839-2856.

หจช. บ16 เสือป่า. 3 ยศ สัญญาบัตร / 13 เรื่อง พระราชทานเหรียญตราและเหรียญข้าราชการที่เปนสมาชิกเสือป่า (12 - 27 มกราคม พ.ศ. 2458).

หจช. บ16 เสือป่า. 3 ยศ สัญญาบัตร / 16 เรื่อง พระราชทานบรรดาศักดิ์และเหรียญตราแก่สมาชิกเสือป่า (30 เมษายน พ.ศ. 2459 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2460).

หจช. บ16 เสือป่า. 3 ยศ สัญญาบัตร / 19 เรื่อง เสือป่าได้รับพระราชทานยศ, บรรดาศักดิ์, เหรียญตรา (3 สิงหาคม - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2459).

หจช. บ16 เสือป่า. 3 ยศ สัญญาบัตร / 39 เรื่อง เหรียญนายกเสือป่า (20 มีนาคม พ.ศ. 2466 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468).

หจช. ร.6 บ12 โบราณคดี, วัตถุ / 26 ท้าวหิรันยพนาสูร (28 มิถุนายน - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2465).

หจช. ร.6 บ12. โบราณคดี, วัตถุ / 18 พลเสือป่าหริ่ม ทูลเกล้าฯ ถวายรูปพระนารายณ์ทรงครุฑที่เก็บได้ที่มณฑลอุดร (22 พฤศจิกายน - 14 มกราคม พ.ศ. 2460).

หจช. ร.6 บ12. โบราณคดี,วัตถุ / 2 ศรโบราณที่เก็บได้ที่เขาชอนเดื่อกับรูปกระบี่ธุชครุฑพ่าห์ (26 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2453).

หจช. ร.6 บ12. โบราณคดี, วัตถุ / 6 ขุนประการริปราบ ทูลเกล้าฯ ถวายยอดธงที่ขุดได้จากป่าไม้ไผ่สีสุก (14 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2455).

หจช. ศธ. 36. 9 / 1 เรื่อง เหรียญที่ระลึก (23 มกราคม 2454 - 25 กันยายน พ.ศ. 2456).

หจช. ศธ. 36. 9 / 3 เรื่อง เหรียญที่ระลึก (5 กันยายน - 15 มกราคม พ.ศ. 2456).

จดหมายเหตุประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ ร.ศ.128 ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ มหาเสวกเอก พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส 27 มิถุนายน 2502. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2502.

จดหมายเหตุพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หอพระสมุดสำหรับพระนครรวบรวมจัดพิมพ์ พระราชทานในงานเฉลิมพระชนม์พรรษา ปีกุน พ.ศ. 2466 พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร, 2466.

ชานันท์ ยอดหงษ์. “นายใน” สมัยรัชกาลที่ 6 พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มติชน, 2560.

ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระ. ตำนานเครื่องราชอิศริยาภรณ์สยาม พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2558.

เทพ บุญตานนท์. การเมืองในการทหารไทยสมัยรัชกาลที่ 6. กรุงเทพฯ: มติชน, 2559.

พระราชลัญจกร. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.

พูนพิศมัย ดิศกุล, หม่อมเจ้า. พระราชวงศ์จักรี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 (สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น สมัยรัชกาลที่ 6) กรุงเทพฯ: มติชน, 2561.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ, จดหมายเหตุรายวันในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศาสนายุกาล 2456 รัตนโกสินทรศก 132 ปีที่ 4 ในรัชกาล เล่ม 2 วันที่ 25 พฤศจิกายน ถึง วันที่ 31 มีนาคม เผยแพร่เป็นที่ระลึกในวันมหาธีรราชเจ้า 25 พฤศจิกายน 2547.

มงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ลายพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2453 ไปสนามจันทร์และขึ้นพระตำหนัก เผยแพร่เป็นที่ระลึกในวันมหาธีรราชเจ้า 25 พฤศจิกายน 2540 ณ พระตำหนักทับขวัญ พระราชวังสนามจันทร์.

ราม วชิราวุธ [นามแฝง]. ประวัติต้นรัชกาลที่ 6 พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มติชน, 2552.

รายละเอียดพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เฉลิมพระราชมณเฑียร (พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แล เสดจเลียบพระนคร พระพุทธศักราช), บรรณาธิการโดย ศาสตราจารย์พิเศษธงทอง จันทรางศุ, (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2558.

วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. สถาบันกษัตริย์ในกฎมณเทียรบาล. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555.

สายชล สัตยานุรักษ์. พุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมือง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ. 2325-2352) กรุงเทพฯ: มติชน, 2546.

อมรดรุณารักษ์, จมื่น (แจ่ม สุนทรเวช), พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม 5 เรื่อง เหตุผลที่รัชกาลที่ 6 ทรงประกาศสงคราม และดุสิตธานี. กรุงเทพฯ: ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์, 2512.

Vella, Walter F. Chaiyo! King Vajiravudh and The Development of Thai Nationalism. Honolulu: University Press of Hawaii, c1978.

Wyatt, David K. Thailand: A Short History Second Edition. Chiang Mai: Silkworm Books, 2004.

วริศรา ตั้งค้าวาณิช, “ภาพลักษณ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชของราชสำนักไทยสมัยรัตนโกสินทร์ถึงทศวรรษ 2480,” ฟ้าเดียวกัน 7, ฉ. 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2552): 94-132.

กรรณภิรมย์ สุวรรณานนท์. “พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการสร้างชาติไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517.

ภัชราพร ช้างแก้ว. “พุทธศาสนากับการก่อตัวของรัฐไทยแบบใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530.

มัทนา เกษกมล. “การวิเคราะห์ในเชิงประวัติศาสตร์เรื่องการเมืองและการปกครอง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2453-2468).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517.

อัจฉราพร กมุทพิสมัย. “กบฏ ร.ศ. 130: ศึกษากรณีการปฏิรูปทางการปกครอง และกลุ่ม “ทหารใหม่.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524

หจช. ไฟล์ภาพดิจิทัล รหัส 10M22M/4. สืบค้น https://archives.nat.go.th/th-th/ เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2562.