คณะราษฎรเยือนแดนซากุระ: การแสวงหาตัวแบบการ “สร้างชาติ” ภายหลังการปฏิวัติ 2475

Main Article Content

ณัฐพล ใจจริง

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ญี่ปุ่นภายหลังการปฏิวัติ 2475 ที่ผ่านมามักถูกบดบังอยู่ภายใต้บรรยากาศของสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเต็มไปด้วยเรื่องราวของความคลั่งชาติ และนโยบายก้าวร้าวของรัฐบาลไทยขณะนั้น ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ญี่ปุ่นมีความแนบแน่นอย่างไม่เคยมีมาก่อนเกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้ง 2 เป็นเวลานานถึงเกือบหนึ่งทศวรรษในยุครัฐบาลคณะราษฎร พวกเขามีความต้องการสร้างประเทศไทยขึ้นใหม่อย่างรวดเร็วเพื่อทดแทนการเสียโอกาสการพัฒนาประเทศในยุคมหาอำนาจตะวันตกเข้าครอบงำไทย ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้จึงเป็นการตรวจสอบซ้ำถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย-ญี่ปุ่นในช่วง พ.ศ. 2475-2484 ผ่านกลุ่มเอกสารใหม่ เช่น หนังสือการเมืองเล่มเล็ก และบันทึกความทรงจำของสมาชิกคณะราษฎรที่เดินทางไปดูการพัฒนาประเทศญี่ปุ่นในช่วงเวลานั้น เพื่อเติมเต็มองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่นในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และความเป็นมาของการพัฒนาประเทศไทยในสมัยรัฐบาลคณะราษฎรที่หายไปจากประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรุงเทพฯ วารศัพท์. 27 มิถุนายน 2477.

กรุงเทพฯ วารศัพท์. 29 มิถุนายน 2477.

กรุงเทพฯ วารศัพท์. 22 สิงหาคม 2477.

กรุงเทพฯ วารศัพท์. 25 มีนาคม 2478.

กรุงเทพฯ วารศัพท์. 26 มีนาคม 2478.

ญี่ปุ่น-สยาม, ปี1 เล่ม 1 (มกราคม 2480).

ไทยใหม่, 12 ธันวาคม 2483.

นาวิกศาสตร์. ปี 17 เล่มที่ 2 (กุมภาพันธ์ 2476).

นาวิกศาสตร์. ปี 17 เล่มที่ 3 (มีนาคม 2476).

ประมวญวัน, 25 มิถุนายน 2480.

“พระราชบัญญัติจัดการกู้เงินภายในประเทศเพื่อการเกษตรและเพื่อการอุตสาหกรรม พ.ศ. 2481,” ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 56 (17 เมษายน 2482).

รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร. ครั้งที่ 24/ 2477 วันที่ 24 กันยายน 2477.

ศรีกรุง, 3 มีนาคม 2475.

ศรีกรุง, 1 ธันวาคม 2486.

Siam Chornicle, Sunday April 4, 1937.

กาจสงคราม, นาวาอากาศเอก หลวง. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 1 ว่าด้วย เรื่องอะไรที่ทำให้ญี่ปุ่นก้าวหน้า. พระนคร: กรมรถไฟ, 2484.

คณะยุวสาร. สุรบุรุษแห่งอุทัยประเทศ. พระนคร: บำรุงนุกูลกิจ, 2478.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยจนถึง พ.ศ. 2484. บรรณาธิการโดย สมภพ มานะรังสรรค์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโครงการตำราทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2527.

ณัฐพล ใจจริง. กบฏบวรเดช: เบื้องแรกปฏิปักษ์ปฏิวัติ 2475. กรุงเทพฯ: มติชน, 2560.

เดชดำรง, นาวาตรี หลวง. รายงานการดูงานในต่างประเทศ: การดูงานศุลกากรในญี่ปุ่น. พระนคร: กรมศุลกากร, 2481.

ถัด รัตนพันธุ์, ร.ต. เที่ยวเอเชียตะวันออก. พระนคร: ศรีหงส์, 2478.

แถมสุข นุ่มนนท์. การสร้างชาติของจอมพล ป. พิบูลสงครามสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2520.

ทรงสุจริต นวรัตน์, ม.ร.ว. สยามกับวิเทโศบายเอเชียตะวันออก. พระนคร: ไทยพานิช, 2480.

ทวี ธีระวงศ์เสรี. สัมพันธ์ภาพทางการเมืองระหว่างไทยกับญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2524.

ธงชัย วินิจจะกูล. โฉมหน้าราชาชาตินิยม: ว่าด้วยประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2559.

ธงชัย วินิจจะกูล. คนไทย/คนอื่น: ว่าด้วยคนอื่นของความเป็นไทย. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2560.

ธนวนต์ จาตุประยูร.ไดนิ. พระนคร: พานิชศุภผล, 2478.

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. 2475 และ 1 ปี หลังการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา, 2543.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. ความคิด ความรู้ และอำนาจการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2546.

เนตร พูนวิวัฒน์, ร.ต. ความเป็นอยู่ของเพื่อนชาวตะวันออก (ทองดำรำลึก). พระนคร: สยามอักษรกิจ, 2479.

เนตร พูนวิวัฒน์, ร.ต. และ เหรียญ ศรีจันทร์. ปฏิวัติ ร.ศ.130. บรรณาธิการโดย ณัฐพล ใจจริง. กรุงเทพฯ: มติชน, 2556.

บรรจง บุณยประสพ, ร.ต.ท. ในสถานีตำรวจกรุงโตเกียว. พระนคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, 2484.

บันทึกเหตุการณ์ของนักเรียนไทยที่ได้รับทุนไปเที่ยวญี่ปุ่น. พระนคร: สถานศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุ่น-ไทย, 2485.

บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. เที่ยวญี่ปุ่น. พระนคร: แพร่พิทยา, 2497.

บุญเสริม สาตราภัย. ศรีโหม้ คนเชียงใหม่คนแรกที่ไปอเมริกา. เชียงใหม่: สมาคมนักเรียนเก่า ปริ้นสรอยแยลส์วิทยาลัย, 2523.

บุรณกรรมโกวิท, หลวง. รายงานการดูงานในต่างประเทศ: การดูงานผังเมือง การช่างและสุขาภิบาล. พระนคร: อักษรนิติ, 2481.

ปกิณกคดี. กรุงเทพฯ: พระจันทร์, 2510.

ประดิษฐมนูธรรม, หลวง. คำชี้แจงเค้าโครงการเศรษฐกิจและเค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎรกับเค้าร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ. พระนคร: ลหุโทษ, 2476.

ประมวลคำปราศรัยและสุนทรพจน์ของฯพณฯจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ผู้นำของชาติ (ฉบับที่ 2) 24 มิถุนายน 2485. พระนคร: กรมโฆษณาการ, 2485.

ประมวลคำปราศรัยและสุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี. พระนคร: กรมโฆษณาการ, 2483.

พรรณี บัวเล็ก. จักรวรรดินิยมญี่ปุ่นกับพัฒนาการทุนนิยมไทยระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1-2 (2457-2488). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2540.

พิจิตราภา เทวกุล, หม่อมเจ้าหญิง. เด็กญี่ปุ่น. พระนคร: ไทยเขษม, 2481.

ภาสกรวงศ์, เจ้าพระยา. ตำนานสงครามจีนกับญี่ปุ่น เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ., 2450.

ยาสุกิจิ ยาตาเบ (เขียน) เออิจิ มูราซิมาและนครินทร์ เมฆไตรรัตน์ (แปล). บันทึกของทูตญี่ปุ่น ผู้เห็นการปฏิวัติ 2475: การปฏิวัติและการเปลี่ยนแปลงในประเทศสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2550.

ยูปิเตอร์ [นามแฝง]. พงศาวดารญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: จีนโนสยามวารศัพท์, 2459.

โยชิฮารุ โยชิกาวา. รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับสงครามแปซิฟิก. แปลโดย อาทร ฟุ้งธรรมสาร กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และมูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศญี่ปุ่น, 2525.

รอง ศยามานนท์. ประวัติศาสตร์ไทยในระบอบรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2520.

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. กระบวนการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจในประเทศไทย: บทวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและการเมือง พ.ศ. 2475-2530. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2546.

วิจิตรวาทการ, หลวง. การเมืองการปกครองของกรุงสยาม. พระนคร: ไทยใหม่, 2475.

วิจิตรวาทการ, หลวง. ลัทธิชูชาติ. พระนคร: วิริยานุภาพ, 2476.

วีระโยธา, พันโท หลวง. “บรรยายทางวิทยุ เรื่อง “กิจการ ณ ประเทศญี่ปุ่น ” เมื่อ 8,18 ธันวาคม 2477.” ชุมนุมปาฐกถาของคนสำคัญ. รวบรวมโดย ส. คนปรีชา. (พระนคร: สุวรรณบรรพต, 2504).

วัฒนธรรมการจัดดอกไม้สด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, 2486.

ศราภัยพิพัฒ, พระยา. ฝันจริงของข้าพเจ้า. พระนคร: กรุงเทพเดลิเมล์, 2476.

ศรีศรากร, พ.ต.ต.ขุน. ตำรวจญี่ปุ่น. พระนคร: บำรุงนุกูลกิจ, 2480.

สงครามรัสเซียกับญี่ปุ่น เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ., 2448.

สงบ สุริยินทร์. เทียนวรรณ. พระนคร: สามสินการพิมพ์, 2510.

สังศิต พิริยะรังสรรค์. ทุนนิยมขุนนางไทย (พ.ศ. 2475-2503). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526.

สาเหตุแห่งการรัฐประหารในญี่ปุ่น. พระนคร: สัจจัง, 2478.

สินธุ์สงครามชัย, นาวาตรี หลวง. สงครามญี่ปุ่น-รัสเซีย. พระนคร: ไทยเขษม, 2475.

สิบพันพานเสนอ โสณกุล, ม.จ.หญิง. เที่ยวประเทศตะวันออก. พระนคร: กรมวิชาการ, 2475.

เสฐียร พันธรังษี. บูชิโด: จรรยาของชนชาติทหาร ดวงวิญญาณของญี่ปุ่น. พระนคร: อักษร-เจริญทัศน์, 2478.

อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์, 2516

อิชิอิ โยเนโอะ และโทชิกาวะ โทชิฮารุ. ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2542.

เอเชีย [นามแฝง]. บทเรียนจากญี่ปุ่น. พระนคร: บำรุงนุกูลกิจ, 2478.

Crosby, Josiah. Siam: The Crossroad. London: Hollis and Carter, 1945.

Dickinson, Federick R. World War I and the Triumph of a New Japan,1919-1930. Cambridge: Cambridge University Press, 2015.

Muscat, Robert J. Thailand and The United States: Development, Security, and Foreign Aid. New York: Columbia University Press, 1990.

Suehiro, Akira. Capital Accumulation in Thailand, 1855-1985. Tokyo: The Centre for East Asian Cultural Studies, 1989.

ณัฐพล ใจจริง. “555 กับ My Country Thailand: ความเคลื่อนไหวทางการเมือง ความคิดทางเศรษฐกิจและประวัติศาสตร์นิพนธ์แบบชาตินิยมวิพากษ์ของพระสารสาสน์พลขันธ์.” รัฐศาสตร์สาร 25, ฉ. 1 (2547): 254-327.

พรรณี บัวเล็ก. “พัฒนาการทุนนิยมในประเทศไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 19-20, ฉ. 1 (2543): 9-39.

Jarunpattana, Supaporn. “Siam-Japan Relations, 1920-1940.” Thai Japanese Studies 6, no. 3 (December 1989): 19-36.

ก้องสกล กวินรวีกุล. “การสร้างร่างกายพลเมืองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, 2545.

นิภาพร รัชตพัฒนากุล. “ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น พ.ศ. 2475-2488.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.

บุปผา ทิพย์สภาพกุล. “ทัศนะของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต่อนโยบายวัฒนธรรมสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529.

ผาณิต รวมศิลป์. “นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521.

รัศมี ชาตะสิงห์, เรือโท. “บทบาทของพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา ในช่วงหกปีแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2476-2481).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย, 2521.

สดใส ขันติวรพงศ์. “ประเทศไทยกับปัญหาอินโดจีนฝรั่งเศส 1937-1947 (พ.ศ. 2480-2490).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.

อุทัยวรรณ จุลเจริญ. “การศึกษาคำขวัญตามแผนนโยบายสร้างชาติของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างพุทธศักราช 2485-2487.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540.

Flood, Edward Thadeus. “Japan’s Relation with Thailand: 1928-1941.” PhD diss., University of Washington, 1967.

Junzo, Iida. “Japan’s Relation with Independent Siam up to 1933: Prelude to Pan-Asian Solidarity.” PhD diss., University of Bristol, 1991.

Reynolds, Edward Bruce. “Ambivalent Allies: Japan and Thailand, 1941-1945.” PhD diss., University of Hawaii, 1988.

Swan, William. “Japanese Economic Relations with Siam: Aspect of Their Historical Development 1884-1942.” PhD diss., Australian National University, 1986.

อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์. “การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทต่างประเทศต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย: ทศวรรษ 1960 และ 1990.” สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

Tamada, Yoshifumi. “Political Implication of Phibun’s Cultural Policy, 1938-1941.” Final report submitted to the National Research Council of Thailand,1994.