สมมุติว่ามี “ล้านนา”: พื้นที่ อำนาจ-ความรู้ และมรดกของอาณานิคมสยาม

Main Article Content

ทินกฤต สิรีรัตน์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจ-ความรู้ การสร้างพื้นที่ และอิทธิพลของระบอบอาณานิคมของสยามที่มีผลต่อการก่อตัวของพื้นที่สมมุติที่เรียกกันว่า “ล้านนา” กระบวนการดังกล่าวแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะการสร้างพื้นที่สมมุติ (พ.ศ. 2416 - 2442) ระยะการเชื่อมโยงพื้นที่สมมุติเข้ากับชื่อ “ลานนาไทย” (พ.ศ. 2440 - 2490) ระยะการผลิตซ้ำชุดความรู้ต่าง ๆ ภายใต้กรอบของ “ลานนาไทยคดี” (พ.ศ. 2490 - 2530) และระยะการโต้กลับมรดกอาณานิคมสยาม (พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน) ผู้เขียนต้องการเสนอว่าอำนาจ-ความรู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนการรับรู้จาก “ล้านนาโดยสมมุติ” ให้กลายเป็น “ล้านนา (ที่เชื่อกันว่า) มีอยู่จริงในประวัติศาสตร์” และชี้ให้เห็นว่าคำว่า “ล้านนา” เป็นเพียงตัวเลือกหนึ่งในการกำหนดพื้นที่และนำเสนอประวัติศาสตร์ของกลุ่มนครรัฐทางเหนือ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เอกสารชั้นต้น

“กฎข้อบังคับ เรื่องเปลี่ยนชื่อมณฑล 4 มณฑล.” ราชกิจจานุเบกษา 17 (2444): 620.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ร.5 ม.58/33 เรื่องพระยาศรีสหเทพออกไปจัดราชการทางมณฑลตะวันตกเฉียงเหนือและมีพระราชบัญญัติอากรที่ดินด้วย (30 มกราคม - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2443).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ร.5 ม.58/88 รายงานกรมหมื่นพิชิตปรีชากร เรื่องจัดราชการเชียงใหม่ ลำพูน และลำปาง (พฤษภาคม พ.ศ. 2427).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ร.5 ม.58/121 เรื่องพระยาทรงคิดจัดราชการเมืองเชียงใหม่ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439)

หนังสือและบทความในหนังสือ

ไกรศรี นิมมานเหมินท์. “ความรู้พื้นฐานด้านลานนาคดี: ศาสนาและวัฒนธรรม.” ใน ลานนาปริทัศน์, 54-63. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ, 2525.

ดวงจันทร์ เจริญเมือง, บก. เชียงใหม่ในกระแสความเปลี่ยนแปลง. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาปัญหาเมืองเชียงใหม่, 2535.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. คนเมือง: ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยใหม่, พ.ศ. 2317-2552. กรุงเทพ: สถาบันวิจัยสังคม, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. ฉันรักต้นขะยอม: ต้นไม้กับสิ่งแวดล้อมเมือง. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาปัญหาเมืองเชียงใหม่, 2538.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. มาจากล้านนา: รวมบทความเกี่ยวกับปรากฏการณ์และสาระของสังคมภาคเหนือ. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2534.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. Lannaissance: 120 ปี การต่อสู้ของท้องถิ่นในรัฐรวมศูนย์ (พ.ศ. 2442-2562). เชียงใหม่: ดาราวรรณการพิมพ์, 2563.

เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. เปิดแผนยึดล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มติชน, 2560.

ประคอง นิมมานเหมินท์ และ ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. ลานนาไทยคดี. เชียงใหม่: ศูนย์หนังสือเชียงใหม่, 2521.

ประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค), พระยา. พงศาวดารโยนก. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา, 2515.

มณี พยอมยงค์. ประวัติและวรรณคดีลานนาไทย. เชียงใหม่: คนเมืองการพิมพ์, 2513.

รังสรรค์ จันต๊ะ. บ้าน โหล่ง และเมือง: เขตความสัมพันธ์บนฐานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชนในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูนตอนบน. เชียงใหม่: ธารปัญญา, 2552.

รัตนาพร เศรษฐกุล. ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจวัฒนธรรม แอ่งเชียงใหม่-ลำพูน. เชียงใหม: ซิลค์เวอร์ม, 2552.

ราม วัชรประดิษฐ์. “พงศาวดารโยนก: งานนิพนธ์โครงเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทยชิ้นแรก.” ใน รวมบทความทางวิชาการ เนื่องในงานมุทิตาจิตเกษียณอายุราชการของรองศาสตราจารย์ สุรีย์ พงศ์จันทร์. พิษณุโลก: สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2549.

วิเคราะห์โครงการวางแผนพัฒนาเมืองเชียงใหม่: รวมบทความทางวิชาการ. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาปัญหาเมืองเชียงใหม่, 2534.

สงวน โชติสุขรัตน์. ไทยยวน-คนเมือง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2516.

สรัสวดี อ๋องสกุล. ประวัติศาสตร์ล้านนา ฉบับสมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์, 2561.

สุเทพ สุนทรเภสัช, บก. สังคมและวัฒนธรรมลานนาไทย: รวมผลงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ในภาคเหนือของประเทศไทย. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2513.

อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. “ความรู้พื้นฐานทางลานนาคดี: ประวัติศาสตร์.” ใน รายงานการสัมมนาวิชาการวรรณกรรมล้านนา เล่ม 1. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2527.

Cohn, Bernard S. Colonialism and Its Forms of Knowledge: The British in India. Princeton, N.J.: Princeton University Press, 1996.

Foucault, Michel. Discipline and Punish: The Birth of the Prison. New York: Vintage eBooks, 2012.

Lefebvre, Henri. The Production of Space. Oxford, UK: Blackwell, 1991.

Thongchai Winichakul. Siam Mapped: A History of the Geo-Body of a Nation. Honolulu: University of Hawaii Press, 1994.

Wolters, O. W. History, Culture, and Region in Southeast Asian Perspectives. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 1982.

บทความวารสาร

ดวงจันทร์ อาภาวัชรุตม์. “เชียงใหม่: ปัญหาเอกนครในภาคเหนือ.” จดหมายเหตุสถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 11, ฉ. 2 (2535): 18-26.

โดม ไกรปกรณ์. “กําเนิด ‘ภูมิกายา’ และพื้นที่สมัยใหม่ของล้านนา.” หน้าจั่ว 11 (2557): 18-33.

ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. “‘ลาว’ ในทัศนะของผู้ปกครองไทย.” จดหมาย สังคมศาสตร์ 11, ฉ. 1 (2531): 104-21.

เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. “ทัศนคติชนชั้นนำสยามต่อชาว ‘ลาว’ ล้านนา-ล้านช้าง มองเป็นพวกเกียจคร้าน-หัวอ่อน-ล้าหลัง?” ศิลปวัฒนธรรม, 2556.

บุหลง ศรีกนก. “การพิจารณาปัญหาเกี่ยวกับชื่อทางประวัติศาสตร์ "ลานนาไทย - ล้านนาไทย”.” วารสารศิลปากร 32, ฉ. 2 (2531): 49-52.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. “การผลิต ‘พื้นที่แบบอาณานิคม’ ในมณฑลพายัพด้วยความรู้ประวัติศาสตร์ และโบราณคดีของสยาม.” วารสารการบริหารท้องถิ่น 10, ฉ. 3 (2560): 106-23.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. “ล้านนาที่เพิ่งสร้างประวัติศาสตร์สังคมของดินแดนลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน (พ.ศ. 2475 - 2557).” วารสารไทยคดีศึกษา 17, ฉ. 2 (2563): 109-44.

สมโชติ อ๋องสกุล. “ความเป็นมาของคำว่า ‘ล้านนา-ลานนา’ ในประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย.” แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสารโบราณคดี 20, ฉ. 2 (2530): 1-19.

Croxton, Derek. “The Peace of Westphalia of 1648 and the Origins of Sovereignty.” The International History Review 21, no. 3 (1999): 569.

Iijima, Akiko. “Phongsawadan Yonok: The Modern Siamese Historiography.” 13th IAHA Conference, Sophia University, Tokyo, 1994.

Nittayaporn Prompanya. “Phongsawadan Yonok: The Creation of a Modern Northern Thai Chronicle.” Journal of Liberal Arts, Thammasat University 19, no. 2 (December 28, 2019): 22-52.

วิทยานิพนธ์

ชัยพงษ์ สำเนียง. “พลวัตการสร้างและการรับรู้ประวัติศาสตร์เมืองแพร่ พ.ศ.2445-2549.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551.

เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. “รัฐสยามกับล้านนา พ.ศ. 2417-2476.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.

บริพัตร อินปาต๊ะ. “การฟื้นฟูรัฐน่านสมัยราชวงศ์หลวงติ๋น พ.ศ. 2329-2442.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.

พรพรรณ จงวัฒนา. “กรณีพิพาทระหว่างเจ้านครเชียงใหม่กับคนในบังคับอังกฤษ อันเป็นเหตุให้รัฐบาลสยามจัดการปกครองมณฑลพายัพ (พ.ศ. 2401-2445).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517.

พร้อมพงศ์ ณ เชียงใหม่. “การปฏิรูปการปกครองหัวเมืองลาวเฉียงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อนสมัยเป็นมณฑลเทศาภิบาล พ.ศ. 2427-2436.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2518.

รัตนาพร เศรษฐกุล. “ศาลต่างประเทศในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2416-2480.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524.

วราภรณ์ เรืองศรี. “การค้ากับเครือข่ายความสัมพันธ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนาก่อนการสถาปนาระบบเทศาภิบาล.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

วัลลภา เครือเทียนทอง. “การปฏิรูปการปกครองลานนาไทยในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.

สมศักดิ์ ลือราช. “ความสำคัญของเมืองแพร่และน่านในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411-2453).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2529.

สรัสวดี ประยูรเสถียร. “การปฏิรูปการปกครองมณฑลพายัพ พ.ศ. 2436-2476.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2523.

อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. “การวิเคราะห์สังคมเชียงใหม่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตามต้นฉบับใบลานในภาคเหนือ.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520.

Reeder, Matthew Thomas. “Categorical Kingdoms: Innovations in Ethnic Labeling and Visions of Communal States in Early Modern Siam.” PhD Diss., Cornell University, 2019.

Somkiat Wanthana. “The Politics of Modern Thai Historiography.” PhD Diss., Monash University, 1986.