ผู้หญิงกับความรักในนิตยสาร สตรีสาร ช่วงทศวรรษ 2490
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานิตยสาร สตรีสาร ผ่านคอลัมน์ “ทัศนะของหญิง” จำนวน 149 ฉบับ ในปี 2491 ถึงปี 2499 พบว่า ผู้หญิงนำเสนอเรื่องความรัก จำนวน 38 ฉบับ, การศึกษา อาชีพ และสิทธิสตรี จำนวน 27 ฉบับ, ผู้ชายที่ดี จำนวน 27 ฉบับ, การเลือกคู่ จำนวน 22 ฉบับ, สามีที่ดี จำนวน 21 ฉบับ ฯลฯ ผู้หญิงมองว่าความรักสูงส่งและสำคัญกว่าความใคร่ ความรักช่วยให้ก้าวข้ามความต่างระหว่างวัยและศาสนา ผู้หญิงคิดว่าควรอยู่เป็นโสดเพราะการแต่งงานมีความเสี่ยง ส่วนผู้ชายที่ดีนั้นต้องเป็นสุภาพบุรุษ ไม่เจ้าชู้ และเอาใจใส่ลูกเมีย
ความสนใจในเรื่องความรัก การเลือกคู่ และผู้ชายที่ดีนั้น สัมพันธ์กับ 2 มิติ ที่ผู้หญิงต้องเผชิญในชีวิตประจำวัน มิติแรกคือ การเลือกคู่ด้วยตนเองเข้ามาแทนการตัดสินใจโดยผู้ใหญ่ มิติที่สองได้แก่ การฆ่าตัวตายเพราะผิดหวังในความรัก ซึ่งเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์บ่อยครั้ง ทั้งสองมิติส่งผลให้ผู้หญิงอภิปรายเรื่องความรักและการเลือกคู่ครองมากเป็นพิเศษ อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่ผู้หญิงถกเถียงกันเองมากที่สุด ได้แก่ ผู้หญิงควรลุกขึ้นต่อสู้เพื่อความเสมอภาคหญิงชาย 11 : 4 เสียง, ผู้หญิงควรวิพากษ์กรอบคิดเก่าและความเป็นไทย 6 : 9 เสียง, ผู้หญิงควรเลิกกับสามีที่ทุบตีและมีหญิงอื่น 4 : 6 เสียง, และผู้หญิงควรออกไปทำงานนอกบ้าน 4 : 3 เสียง การถกเถียงนี้สอดรับกับกระแสสิทธิสตรีในทศวรรษ 2490
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
หนังสือและบทความในหนังสือ
คณะทำงานประวัติการพิมพ์ในประเทศไทย. สยามพิมพการ: ประวัติศาสตร์การพิมพ์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2549.
ถุงเงิน พุทธสรณ์. แรกเริ่มเดิมทีในสยาม. นนทบุรี: ดอกหญ้า, 2556.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. ปากไก่และใบเรือ. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2555.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. ว่าด้วยเพศ: ความคิด ตัวตน และอคติทางเพศ ผู้หญิง เกย์ เพศศึกษา และกามารมณ์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2545.
ปรีดา อัครจันทโชติ, และ ทรงพร ศรีช่วย. คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง: อัญมณีแห่งโลกนิตยสาร. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ระวีวรรณ ประกอบผล. นิตยสารไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530.
ลาวัณย์ โชตามระ. อุบัติการณ์หนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ: พาสิโก, 2522.
วีระยุทธ ปีสาลี. กรุงเทพฯ ยามราตรี. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.
สมร นิติทัณฑ์ประภาศ. ประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1865-1945: ยุคหลังสงครามกลางเมือง-สงครามโลกครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553.
สัญชัย สุวังบุตร และอนันต์ชัย เลาหะพันธุ. “ถ้อยแถลง บทบรรณาธิการที่ไม่ธรรมดา.” ใน รำลึกร้อย ถ้อยแถลง. กรุงเทพฯ: คมบาง, 2560.
สุกัญญา ภัทราชัย. เพลงปฏิพากย์ : บทเพลงแห่งปฏิภาณของชาวบ้านไทย. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
สุกัญญา หาญตระกูล. ปัญญาแห่งยุคสมัย : คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง. เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม, 2558.
สุภาวดี โกมารทัต. ประวัตินิตยสารไทย Now & Then. กรุงเทพฯ: สมาคมนิตยสารแห่งประเทศไทย, 2549.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. “คำนำ.” ใน คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง: อัญมณีแห่งโลกนิตยสาร. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
อุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต, และ อวยพร พานิช. 100 ปีของนิตยสารสตรีไทย (พ.ศ. 2431-2531). กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532.
Coffey-Glover, Laura. Men in Women's Worlds: Constructions of Masculinity in Women's Magazines. London: Palgrave Macmillan, 2019.
Ferguson, Marjorie. Forever Feminine: Women's Magazines and the Cult of Femininity. London: Heinemann, 1983.
Friedan, Betty. The Feminine Mystique. New York: Dell, 1974.
Walker, Nancy A.. Women's Magazines, 1940-1960: Gender Roles and the Popular Press. Boston: Bedford/St. Martin's, 1998.
บทความวารสาร
ชาติชาย มุกสง. “จากแม่ศรีเรือนถึงแม่บ้านทันสมัย: การต่อสู้ทางศีลธรรมผ่านแม่บ้านหลังปฏิวัติ 2475 ถึงทศวรรษ 2500.” ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ 4, ฉ. 7 (กรกฎาคม/ธันวาคม 2558): 106.
พรธาดา สุวัธนวนิช. “เกียรติประวัติ คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง.” วารสารภาษาและหนังสือ ฉบับ 100 ปี คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง บนเส้นทางชีวิตบรรณาธิการของ ‘คุณย่า บ.ก.’ 45 (สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย 2557): 11-12.
Breazeale, Kenon. “In Spite of Women: Esquire Magazine and the Construction of the Male Consumer.” Signs 20, no. 1 (Autumn 1994): 1-22.
Greenfield, Jill, O'Connell, Sean, and Reid, Chris. “Fashioning Masculinity: Men Only, Consumption and the Development of Marketing in the 1930s.” Twentieth Century British History 10, no. 4 (1999): 457-476.
Latham, Sean. “The Mess and Muddle of Modernism: The Modernist Journals Project and Modern Periodical Studies.” Tulsa Studies in Woman’s Literature 30, no. 2 (Fall 2011): 407-428.
นิตยสารและนิตยสารออนไลน์
แก้วตา. “ความรักกับการแต่งงาน.” สตรีสาร, ปลายสิงหาคม 2499.
ข. มิตรกูล. “พนันชีวิต.” สตรีสาร, ปลายพฤษภาคม 2498.
คนช่างระแวง. “ความรักของวีณา.” สตรีสาร, ปลายมกราคม 2498.
จิตระพันธุ์. “ชตาของหล่อน.” สตรีไทย, 15 มีนาคม 2468.
ชลธิชา. “เขาว่ารัก รักนั้นประการใด.” สตรีสาร, ปลายกรกฎาคม 2491.
ดิฉันเอง. “ใครบ้างไม่รักเงิน?.” สตรีสาร, ปลายกรกฎาคม 2492.
ดิฉันเอง. “ผู้หญิงไม่ควรเรียนมาก?.” สตรีสาร, ต้นมีนาคม 2495.
แตงไทย. “ทั้งรักทั้งแค้น.” กุลสัตรี, พฤศจิกายน ร.ศ. 125.
ทิพวารี จีระพันธุ์. “จะต้องกลัวอะไรกับชีวิตโสด.” สตรีสาร, ปลายกรกฎาคม 2499.
ทิพวารี จีระพันธุ์. “เนื่องมาจาก รักแท้แน่จริงหรือ.” สตรีสาร, ปลายมีนาคม 2499.
ทิพวารี จีระพันธุ์. “อย่าแน่ใจอะไรกับรัก.” สตรีสาร, ปลายธันวาคม 2498.
น้ำผึ้งรวง. “จะทำจริงนั้นแสนลำบาก.,” สตรีสาร, ปลายกรกฎาคม 2498.
นิมมานรดี. “รักกินไม่ได้.” สตรีสาร, ปลายสิงหาคม 2499.
นิราส ณ นาวิน. “รักนั้นฉันใด.” สตรีสาร, ปลายกรกฎาคม 2497.
บรรณาธิการ. “แจ้งความ.” กุลสตรี, มีนาคม ร.ศ. 125.
บรรณาธิการ. “แจ้งความ.” กุลสัตรี, กุมภาพันธ์ ร.ศ. 125.
บรรณาธิการินี. “เฉลยสาร.” สตรีไทย, 1 มีนาคม 2468.
บัวขาว. “ธรรมะกับผู้ครองเรือน.” สตรีสาร, ปลายสิงหาคม 2498.
ป. ชุนแสง. “เนื่องมาจาก หญิงวิเศษกว่าชายจริงหรือ?.” สตรีสาร, ต้นมกราคม 2498.
ประนอม สัชฌุกร. “แด่พ่อบ้านไทย.” สตรีสาร, ต้นเมษายน 2497.
ประนอม สัชฌุกร. “สำคัญที่การวางตัว.” สตรีสาร, ปลายเมษายน 2498.
ผู้หญิงคนหนึ่ง. “ผู้หญิงไม่ควรเรียนรู้?.” สตรีสาร, ปลายมีนาคม 2494.
มาณศรี. “สิทธิเท่าเทียมชาย.” สตรีสาร, ปลายพฤศจิกายน 2497.
ยุพดี มงคลวัจน์. “มือที่ครองโลก.” สตรีสาร, ปลายมีนาคม 2496.
ยุพดี มงคลวัจน์. “อย่างไหนสำคัญกว่า ศาสนาหรือความรัก.” สตรีสาร, ต้นตุลาคม 2494.
ยุพดี มงคลวัจน์. “อาณาจักรของผู้หญิง.” สตรีสาร, ต้นมีนาคม 2493.
ยุพยงค์. “ผู้หญิงรักเพื่ออยู่ แต่ผู้ชายอยู่เพื่อรัก.” สตรีสาร, ต้นสิงหาคม 2491.
ระริน. “ถูกแล้ว รักกินไม่ได้.” สตรีสาร, ปลายกันยายน 2499.
ระไว และ พ. ศกุนตละลักษณ์. “สองทัศนะเกี่ยวกับความรักของวีณา.” สตรีสาร, ปลายกุมภาพันธ์ 2498.
รัชนีฉายา. “จนกว่าจะสิ้นลมปราณ.” สตรีสาร, ปลายพฤษภาคม 2495.
รัชนีฉายา. “ในความรักไม่มีปมด้อย.” สตรีสาร, ต้นเมษายน 2495.
รัชนีฉายา. “ผู้หญิงสวยตรงไหน?.” สตรีสาร, ปลายธันวาคม 2492.
รัชนีฉายา. “ไม่สำคัญที่อายุ.” สตรีสาร, ต้นมีนาคม 2499.
รัชนีฉายา. “รักกันที่ตรงไหน.” สตรีสาร, ต้นกุมภาพันธ์ 2499.
รัชนีฉายา. “สามีไม่ต้องเกี้ยวภริยา?.” สตรีสาร, ต้นสิงหาคม 2492.
รัชนีฉายา. “เหตุที่ผู้ชายแต่งงาน.” สตรีสาร, ต้นมิถุนายน 2496.
รัชนีฉายา. “อะไรเป็นเสน่ห์.” สตรีสาร, ปลายธันวาคม 2494.
รุ่งทิวา. “หน้าเนื้อใจเสือ.” สตรีสาร, ต้นกันยายน 2494.
ฤชุดา. “ปล่อยให้ผู้ชายเขางำความลับไปเถิด.” สตรีสาร, ปลายตุลาคม 2497.
วลัยมิตร ณ อักษร “นานาคติของรัก.” สตรีสาร, ปลายกันยายน 2498.
วลีรัตน์ นิธิกร. “เธอพร้อมแล้วหรือ?.” สตรีสาร, ต้นสิงหาคม 2497.
สันตี. “ความอาภัพของลูกผู้หญิง.” สตรีสาร, ต้นมีนาคม 2491.
สายจิตต์-สิริมาส. “เจ้าชู้ปากเสีย.” สตรีสาร, ปลายมกราคม 2492.
สาวระทม ระรวยรื่น. “ภริยาเป็นศรีสวัสดิ์แสดง ศักดิ์สง่าแก่สามี.” สตรีสาร, ต้นพฤศจิกายน 2494.
สุจิรา อินทะนิยม. “อยู่เป็นโสดดีกว่า.” สตรีสาร, ปลายมีนาคม 2498.
สุธาศินี. “หลังคาเดียวกัน.” สตรีสาร, ต้นมิถุนายน 2497.
สุภัทร. “ใครเป็นคนผิด?.” สตรีสาร, ต้นพฤษภาคม 2491.
อ. อิสสรานุรัตน์. “ความรักของวีณาน่าระแวง?.” สตรีสาร, ต้นกุมภาพันธ์ 2498.
อัศวินี. “เพศไหนอ่อนแอ.” สตรีสาร, ต้นธันวาคม 2494.
อัศวินี. “อย่าเกี่ยวข้องชาย ต้องห้าม.” สตรีสาร, ปลายตุลาคม 2494.
อำนาจ เรนางกูร. “ว่าด้วยเรื่องอกหัก.” สตรีสาร, ต้นกรกฎาคม 2497.
วิทยานิพนธ์
จิตตมาศ จิระสถิตย์พร. “พัฒนาการทางการศึกษาของผู้หญิงไทย พ.ศ. 2500 - 2540: หลักสูตรการศึกษากับการพัฒนาผู้หญิงสู่ความทันสมัย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2560.
พิมพ์ฤทัย ชูแสงศรี. “ความคิดของผู้หญิงในนิตยสารผู้หญิง พ.ศ. 2500-2516.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2534.
สุนันทา นิตยจินต์. “การศึกษาของสตรีระหว่างพุทธศักราช 2411 ถึง 2475.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530.
อรชุมา เก่งชน. “การเคลื่อนไหวของกระแสสตรีนิยมยุคบุกเบิกที่ปรากฏในนิตยสาร.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
อรอนงค์ สวัสดิ์บุรี. “คอลัมน์ตอบปัญหาชีวิตในนิตยสารในการสะท้อนบทบาท และสถานภาพของสตรีไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.
รายงานวิจัย
วารุณี โอสถารมย์. รายงานการวิจัยเรื่อง พัฒนาการอุดมศึกษาในประเทศไทย: การศึกษาวิเคราะห์เชิงนโยบายและผลพวงที่มีต่อการพัฒนาในปัจจุบันและอนาคต. ทบวงมหาวิทยาลัย, 2533.