แม่และแม่บ้านสมัยใหม่: ผู้หญิงดี, ความเป็นไทย, และวิทยาศาสตร์ ทศวรรษ 2460-2490

Main Article Content

สุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจ

บทคัดย่อ

แม่และแม่บ้านคือเพศสภาพประเภทหนึ่งที่กอปรขึ้นพร้อมกับการเข้าสู่สมัยใหม่ของไทยในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 25 บทความนี้จะอภิปรายให้เห็นว่าแม่และแม่บ้านเริ่มถูกนิยามขึ้นบนสนามของการจำแนก “ผู้หญิงดี” และ “ผู้หญิงไม่ดี” ออกจากกันในบริบทยุคอาณานิคม ความหมายของแม่และแม่บ้านนั้นยึดโยงอยู่กับครอบครัวที่ถูกพิจารณาว่าเป็นหน่วยพื้นฐานของชาติ, พุทธศาสนาที่เป็นหนึ่งในเสาหลักของความเป็นไทย, และวิทยาศาสตร์ที่เป็นเครื่องหมายของความเป็นสมัยใหม่ หลังการปฏิวัติ 2475 ต่อมาจนเริ่มเข้าสู่ยุคสงครามเย็น แม่และแม่บ้านยิ่งได้รับการส่งเสริมโดยรัฐที่กำลังรณรงค์วัฒนธรรมฝ่ายหญิง, ริเริ่มมหกรรมวันแม่, ปรับปรุงการศึกษา, และขยายงานสาธารณสุข

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

“กฤษณาสอนน้องคำฉันท์.” ใน ประชุมสุภาษิตสอนหญิง. บรรณาธิการโดย ศิริรัตน์ ทวีทรัพย์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2555.

กะซวงการสาธารนสุข. กรมสาธารนสุข. คู่มือสมรส. พระนคร: ไทยนุกูล, 2486.

กรมสาธารณสุข. ทารกสงเคราะห์ คือว่าด้วยการรักษาครรภ์และการเลี้ยงดูเด็กอ่อน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 2470.

ก้องสกล กวินรวีกุล. “การสร้างร่างกายพลเมืองไทยในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.

กำพร้า. “กิจการปฏิบัติของแม่บ้าน.” สุภาพนารี 1, ฉ. 1 (มีนาคม 2473): 159-160.

คหปตานี (แม่บ้านหรือแม่เรือน). พระนคร: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2479.

ชาติชาย มุกสง. “รัฐ โภชนาการใหม่กับการเปลี่ยนแปลงวิถีการกินในสังคมไทย พ.ศ. 2482-2517.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.

ชานันท์ ยอดหงษ์. หลังบ้านคณะราษฎร: ความรัก ปฏิวัติ และการต่อสู้ของผู้หญิง. กรุงเทพฯ: มติชน, 2564.

ณัฐพล ใจจริง. ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี: การเมืองไทยภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563.

ดอกไม้สด. ความผิดครั้งแรก. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา, 2516.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. “โสเภณีกับนโยบายของรัฐบาลไทย พ.ศ. 2411-2503.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526.

“เด็กกับมารดา.” สตรีไทย 1, ฉ. 18 (28 มิถุนายน 2469): 5, 7.

โดม ไกรปกรณ์. “การเมืองวัฒนธรรมในตำราอาหารสมัยแรกของสยาม.” วารสารประวัติศาสตร์ (2555): 15-33.

ต,ว,ส, วัณณาโภ. หนังสือบำรุงนารี. เล่ม 1-4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ และโรงพิมพ์พิศาลบรรณนิติ์, [2449].

ตาด. “การเรียนวิชา.” จดหมายเหตุแสงอรุณ 12, ฉ. 1 (เมษายน 125): 13-14.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

ไทยไหม่, 17 มกราคม 2486; 14 มีนาคม 2486; 23 พฤษภาคม 2486; 27 พฤษภาคม 2486, 5; 9 มิถุนายน 2486.

ธรรมศักดิ์มนตรี, เจ้าพระยา. การศุขาภิบาลสำหรับบุทคลและครอบครัว เป็นความรู้เรื่องการต่อสู้กับข้าศึกที่เราแลไม่เห็นตัว. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 2461.

ธิดา วรรณลักษณ์. การเรือน. พระนคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, 2479.

นันทิรา ขำภิบาล. “นโยบายเกี่ยวกับผู้หญิงไทยในสมัยสร้างชาติของจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2481-2487.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, 2530.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. “สุนทรภู่: มหากวีกระฎุมพี.” ใน ปากไก่และใบเรือ: รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2555.

เนื้อทิพย เสมรสุต. หน้าที่ของผู้หญิง. พระนคร: โรงพิมพ์หว่าเชียง, 2478.

ปรัดเล. คําภีร์ครรภ์ทรักษา, แปลย่นความจากออกจากคำภีร์ครรภ์ทรักษาแห่งแพทย์หมออะเมริกา. Bangkok: A.B.C.F.M. Mission Press, 1842.

“ประกาสสภาวัธนธัมแห่งชาติ เรื่องวัธนธัมของผัวเมีย.” ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 61 ตอนที่ 11 (15 กุมภาพันธ์ 2487): 273-294.

ประชาชาติ, 13 มีนาคม 2479, 15; 24 พฤษภาคม 2477, 35; 26 พฤษภาคม 2477, 18.

ประยงค์ ถ่องดิกิจฉการ. วิชชาการเรือน. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรนิติ, 2475.

ประยงค์ ถ่องดิกิจฉการ. หน้าที่ของแม่เรือน. พระนคร: โรงพิมพ์ศรีหงส์, 2477.

ปวีณา กุดแถลง. “มโนทัศน์ความเป็นหญิงและความเป็นชายในนิตยสารสตรีสาร พ.ศ. 2491-2539.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561.

ปัทมากร บุลสถาพร. “ความรู้ในตำราพรหมชาติ.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2539.

เปลี่ยน ภาสกรวงศ์, ท่านผู้หญิง. แม่ครัวหัวป่าก์. เล่ม 1-4. กรุงเทพฯ: สมาคมกิจวัฒนธรรม, 2545.

พ. เนตรรังษี. แม่ศรีเรือน. เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2535.

พงศกร ชะอุ่มดี. “ภาพถ่ายกับชีวิตวัยรุ่นชนชั้นกลางในกรุงเทพมหานคร ทศวรรษ 2500 ถึงต้นทศวรรษ 2530.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.

พระธรรมโกศาจารย์. ศีลและธรรมอันดีของประชาชน. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรนิติ, 2474.

พระราชหัตถ์เลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และลายพระหัตถ์ สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอรรคราชเทวี. พระนคร: โรงพิมพ์ไทยเขษม, 2493.

พิพาดา ยังเจริญ. โลกทัศน์ของสตรีญี่ปุ่นยุคเทคโนโลยี: ความสืบเนื่องและการเปลี่ยนแปลงจากสมัยจารีต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.

เพชรสุภา ทัศนพันธ์. “แนวความคิดเรื่อง ‘การเข้าสมาคม’ และผลกระทบต่อสตรีไทย พ.ศ. 2461-2475.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.

แม็คฟาร์แลนด์, เบอร์ธ่า เบล๊านท์. ชีวิตอุทิศเพื่อสยาม อำมาตย์เอก พระอาจวิทยาคม นพ. จอร์จ บี. แม็คฟาร์แลนด์. แปลโดย เด็กวัฒฯ รุ่น 100. กรุงเทพฯ: คณะบุคคลวัฒนา 100, 2557.

ยุพาภรณ์ แจ้งเจนกิจ. “การศึกษาของสตรีไทย: ศึกษากรณีเฉพาะของโรงเรียนราชินี (พ.ศ. 2447-2503).” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, 2530.

“เรื่อง พิธีเปิดงานสำนักวัธนธัมฝ่ายหยิง นะ บ้านไทยพันธมิตร.” ข่าวโคสนาการ 6, ฉ. 3 (มีนาคม 2486): 184-188.

ลูศรี วิฆเนศ. “วิธีรักษาความสงบแห่งครอบครัว.” จดหมายเหตุแสงอรุณ 12, ฉ. 4 (กรกฎาคม 125): 117-119.

วันแม่. พระนคร: สำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2496.

วัชนี คำน้ำปาด. “เด็ก กับความคาดหวังของรัฐบาล พ.ศ. 2502-2519.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.

วิเชียรแพทยาคม, หลวง. ปาฐกถาพิเศษ ปัญหาเรื่องกิจประจำวันของคนทั่วไป. [พระนคร]: โรงพิมพ์เดลิเมล์, 2475.

วีระยุทธ ปีสาลี. กรุงเทพฯ ยามราตรี. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.

สตรีไทย 1, ฉ. 35 (25 ตุลาคม 2469): 32.

“สถานมารดา-ทารกสงเคราะห์ ถนนสาธร.” สตรีสาร 5, ฉ. 101 (ต้นสิงหาคม 2495): 15-20.

สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. “กำเนิด ‘เรื่องอ่านเล่นร้อยแก้วสมัยใหม่’: ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบและบริบททางความคิด.” วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 21, ฉ. 2 (เมษายน-มิถุนายน 2558): 133-190.

สุนทรี อาสะไวย์. “กำเนิดและพัฒนาการของอาหารชาววัง ก่อน พ.ศ. 2475.” ศิลปวัฒนธรรม 32, ฉ. 7 (พฤษภาคม, 2554): 81-101.

“สุภาษิตสอนสตรี.” ใน ประชุมสุภาษิตสอนหญิง. บรรณาธิการโดย ศิริรัตน์ ทวีทรัพย์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2555.

สำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง, สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ. สมุดภาพการประกวดภาพและบริเวณ. พระนคร: โรงพิมพ์ภักดีประดิษฐ์, 2497.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ประมวลข่าวเหตุการณ์สำคัญ พ.ศ. 2497 ก/ป7/2497/บ13.7 งานวันแม่

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกรมราชเลขาธิการ รัชกาลที่ 5 กระทรวงศึกษาธิการ ร.5 ศ2/6 แผนจัดการศึกษา (31 กรกฎาคม 117-17 กันยายน 127)

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารรัชกาลที่ 6 กระทรวงศึกษาธิการ ร.6 ศ10/13 ทูลเกล้าฯ ถวายความเห็นที่จะจัดการศึกษา ร.ศ. 131 สำหรับพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย คราวที่ 1 (พ.ศ. 2455)

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารสำนักงานเลขานุการกรม กรมศิลปากร ศธ.0701.30/21 การร้องทุกข์ของภรรยาข้าราชการและประชาชน (พ.ศ. 2484)

เหล็ง ศรีจันทร์. ตำรารักษาครรภ์ และคู่มือสตรีเวลามีครรภ์. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2475.

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. “ความหมายของตัวตน: พัฒนาการหนังสือแจกในงานศพ.” ใน ประวัติศาสตร์ ศาสนาวัฒนธรรม และการศึกษา: รวมบทความไทยศึกษา เพื่อระลึกถึงศาสตราจารย์ อิฌิอิ โยเนะโอะ. บรรณาธิการโดย ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และฉลอง สุนทราวาณิชย์. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์, 2556.

อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. “จาก ‘โซ๊ด’ สู่ ‘สะวิง’: อัสดงคตนิยมกับการเมืองของการแปลทางวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่.” รัฐศาสตร์สาร 38, ฉ. 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2560): 73-130.

อานุภาพไตรภพ, พระยา. อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ป.ช., ป.ม., ท.จ., ราชองครักษ์พิเศษ จ.ป.ร. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 20 ธันวาคม พุทธศักราช 2504. พระนคร: โรงพิมพ์ทหารบก, 2504.

“อินเตอร์วิว หม่อมเจ้าหญิงพูลพิศมัย พระธิดาในสมเด็จกรมพระยาดำรงฯ.” สุภาพนารี 1, ฉ. 2 (21 มีนาคม 2473): 68-69.

อุ่นใจ ปฏิมาประกร. “บทบาทของมิชชันนารีอเมริกันในการจัดการศึกษาสตรีไทย: กรณีศึกษาโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ระหว่าง พ.ศ. 2417-2500.” สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2549.

Barmé, Scot. Woman, Man, Bangkok: Love, Sex & Popular Culture in Thailand. Lanham, MD: Roman & Littlefield, 2002.

Chatterjee, Partha. “Colonialism, Nationalism, and Colonized Women: The Contest in India.” American Ethnologist 16, no. 4 (November 1989): 622-633.

Harrison, Rachel. “The Madonna and the Whore: Self/‘Other’ Tensions in the Characterization of the Prostitute by Thai Female Authors.” In Gender & Sexualities in Modern Thailand. Edited by Peter A. Jackson and Nerrida M. Cook. Chiang Mai: Silkworm Books, 1999.

Ikeya, Chie. “The Scientific and Hygienic Housewife-and-Mother: Education, Consumption and the Discourse of Domesticity.” The Journal of Burma Studies 14 (2010): 59-89.

Locher-Scholten, Elsbeth. “Colonial Ambivalencies: European Attitudes towards the Javanese Household (1900-1942).” In Women and Households in Indonesia: Cultural Notions and Social Practices. Edited by Juliette Koning et al. New York, NY: Routledge, 2013.

Loos, Tamara. Subject Siam: Family, Law, and Colonial Modernity in Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books, 2002.

Na, Jiang. “Negotiating the Image of New Woman: Women Intellectuals’ Group Identity and the Funu Zhoukan (Women’s Weekly) in 1930s China.” Master’s thesis, National University of Singapore, 2005.

Pearson, Quentin (Trais). “The Introduction of Western Obstetrics in Nineteenth-Century Siam.” Bulletin of the History of Medicine 90, no. 1 (Spring 2016): 1-31.

Phillips, Matthew. Thailand in the Cold War. London and New York, NY: Routledge, 2016.

Posrithong, Natanaree. “The Siamese ‘Modern Girl’ and Women’s Consumer Culture, 1925-35.” Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia 34, no. 1 (March 2019): 110-148.

Promnart, Petcharat. “Modern Woman, Modern Man: The Discursive Construction of Sexual Propriety in Sixth-Reign Siam (1910-1925).” Master’s thesis, University of Singapore, 2015.

Reyes, Raquel A. G. “Modernizing the Manileña: Technologies of Conspicuous Consumption for Well-to-do Woman, circa 1880s-1930s.” Modern Asian Studies 46, no. 1 (January 2012): 193-220.

Schneider, Helen M. Keeping the Nation’s House: Domestic Management and the Making of Modern China. Vancouver: UBC Press, 2011.

Scott, Joan W. “Gender: A Useful Category of Historical Analysis.” In Gender & History in Western Europe. Edited by Robert Shoemaker and Mary Vincent. London: Arnold, 1998.

Seth, Sanjay. “Nationalism, Modernity, and the “Woman Question” in India and China.” The Journal of Asian Studies 72, no. 2 (May 2013): 273-297.

Stevens, Sarah E. “Figuring Modernity: The New Woman and the Modern Girl in Republican China.” NWSA Journal 15, no. 3 (Autumn 2003): 82-103.

T. Patana, Suwadee. “Gender Relations in Thai Society: A Historical Perspective.” In Women’s Studies in Thailand: Power, Knowledge and Justice. Edited by Suwanna Satha-Anand. Seoul: Ewha Womans University Press, 2004.

Vilaithong, Villa. “A Cultural History of Hygiene Advertising in Thailand, 1940s-early 1980s.” Ph.D. thesis, Australian National University, 2006.