ภาพลักษณ์ของทหารรับจ้างไทยจากสงครามลับในลาวในสารนิยายของสยุมภู ทศพล พ.ศ. 2516-2519

Main Article Content

สืบสายสยาม ชูศิริ

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพจำของทหารรับจ้างไทยในสงครามลับในลาวในช่วงสงครามเย็น โดยการมีตัวตนอยู่ของทหารรับจ้างเหล่านี้ถูกปกปิดโดยรัฐบาลไทย เนื่องจากสงครามในลาวห้ามไม่ให้ประเทศอื่นเข้าแทรกแซงตามข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความ เป็นกลางลาว ส่งผลให้การรับรู้ของสังคมไทยที่มีต่อทหารรับจ้างไทย มีความคลุมเครือ ซึ่งการรับรู้ส่วนใหญ่ค่อนข้างไปในทางลบ และไม่ได้รับความสนใจเท่าไรนัก อย่างไรก็ตาม ในช่วงร่วมสมัยกับเหตุการณ์มีผลงานการประพันธ์ของนักเขียนชาวไทยชื่อ “สยุมภู ทศพล” ผู้ซึ่งเคยเข้าร่วมรบในสงครามลับในลาวและมีชีวิตรอดกลับมา ได้พยายามนำเสนอภาพจำของทหารรับจ้างไทยที่ต่างไปจากการรับรู้กระแสหลักของสังคม คือภาพความเป็น “วีรบุรุษ” และ “เหยื่อ” ซึ่งสาเหตุที่สยุมภูนำเสนอเช่นนั้น สันนิษฐานว่าเพื่อต้องการให้สังคมหันมาสนใจตัวทหารรับจ้างไทยและจดจำทหารกลุ่มนี้ในแง่ที่ดีมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองบรรณาธิการ. “สัมภาษณ์ สยุมภู ทศพล ผู้เขียน “ดับรามสูร” ลูกอัณฑะผมขาดข้างหนึ่ง”, โลกหนังสือ 1, ฉ.2 (พฤศจิกายน 2520): 48-56.

เจน อักษราพิจารณ์. “สยุมภู ทศพล: หยาดน้ำหมึกกลางสมรภูมิ.” ทางอีศาน 5, ฉ.58 (กุมภาพันธ์ 2560): 110-113.

ชัยชาญ หาญนาวี. เชลยศึกทรหด เล่มที่ 2. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., 2544. ชาลี คเชนทร์. วีรกรรม นิรนาม…ทหารเสือพราน. นนทบุรี: ข้าแผ่นดินสยาม, 2550.

ชาลี คเชนทร์. สงครามลาว ยุทธภูมิล่องแจ้ง. นนทบุรี: ชุติมาการพิมพ์, 2550.

ณัฐพล ใจจริง. “การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2491-2500).” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. พิมพ์ครั้งที่ 5, แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2561.

“ทหารไทยร่วมรบด้วย.” สยามรัฐ, 4 กุมภาพันธ์ 2514.

บัญชร ชวาลศิลป์. 2503 สงครามลับ สงครามลาว. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2565.

บัญชร ชวาลศิลป์. บีซี-602 กองพันไม่แพ้ จากบันทึกความทรงจำของพันเอกวิลาศ มณีรัตน์. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2566.

“ประจิม วงศ์สุวรรณ.” สำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น. 15 ตุลาคม 2565. http://www.praphansarn.com/ home/detail_author_th/2

ประจักษ์ ก้องเกียรติ. และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลาฯ. พิมพ์ครั้งที่ 2, แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2556.

“ประภาสตำหนิถนัดกรณีทหารอเมริกันในไทย ไม่น่าเขียนบทความลง นสพ.” เดลินิวส์, 3 พฤษภาคม 2516.

“ประวัติโรงเรียนนายสิบทหารบก.” กรมทหารช่าง. 17 ตุลาคม 2565. http://www.engrdept.com/ nco/tahanchangling/pavatnco_school.htm

ประทีป เหมือนนิล. 100 นักประพันธ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2, แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น, 2553.

ผู้สื่อข่าวอิสระประจำลาว. “ลาวและปัญหาทหารรับจ้าง.” สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 11, ฉ.10 (ตุลาคม 2516): 46-61.

“เผยสัญญาศึกเวียดนาม.” เดลินิวส์, 26 มกราคม 2516.

เพทาย. “ฉากชีวิต:เรื่องของเพื่อน.” โล่เงิน 15, ฉ.177 (ธันวาคม 2543): 54-55.

พวงทอง ภวัครพันธุ์. การต่างประเทศไทยในยุคสงครามเย็น. พิมพ์ครั้งที่ 2, แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561.

ภูสิน สินภูเทิง. คนไทยในกองทัพแห่งชาติลาว ภาคสอง. นนทบุรี: สินไพบูลย์ 2488, ม.ป.พ.

มาร์ติน สจ๊วต-ฟอกซ์. A History of Laos ประวัติศาสตร์ลาว. แปลโดย จิราภรณ์ วิญญรัตน์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2553.

“ยังไม่ประกาศเป็นทางการ สหรัฐว่ามีทหารไทยในลาว 15,000 คน.” เดลินิวส์, 14 พฤษภาคม 2516.

โรงเรียนเตรียมทหาร กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด. 42 ปี โรงเรียน เตรียมทหาร. กรุงเทพฯ: โรงเรียนเตรียมทหาร กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด, 2542.

โรเจอร์ วอร์นเนอร์. ผลาญชาติ สงครามลับของซีไอเอในลาว และความเชื่อมโยงกับสงครามในเวียดนาม. แปลโดย ไผท สิทธิสุนทร. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2545.

หลวง กลางกรุง. “เหนือใต้ออกตก เหตุการณ์ในประเทศลาวกำลังอยู่ในขั้นคับขัน ผู้อพยพ หลบภัยเข้ามาพึ่งพาเป็นเรื่องน่าระวังเพราะไม่มีโอกาสรู้ว่าเป็นลาวดีหรือลาวร้าย.” เดลินิวส์, 26 กุมภาพันธ์ 2514.

ศนิโรจน์ ธรรมยศ. บันทึกลับนักรบนิรนาม 333. กรุงเทพฯ: โนเบิ้ลบุ๊คส์, 2565.

ศนิโรจน์ ธรรมยศ. “สยุมภู ทศพล” ผู้เขียน “ดับรามสูร” คือใคร? บิ๊กแมนมีจริงหรือไม่? โดย คุณวีระ สตาร์ FAG ตัวจริงในลาว.” Youtube. 27 กันยายน 2564. https://www.youtube.com/ watch?v=ZR3vG0xoPew&t.

สายหยุด เกิดผล. สงครามลับในลาว Secret War in Laos. กรุงเทพฯ: สไมล์อาร์ตกราฟิกเฮ้าส์, 2562.

“สยุมภู ทศพล.” ไทยรัฐ, 21 มกราคม 2533.

สยุมภู ทศพล. ค่ายนรกเดียนเบียนฟู. กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น, 2519.

สยุมภู ทศพล. ด่านนรก. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2519.

สยุมภู ทศพล. ไม่มีคำตอบจากทุ่งไหหิน เล่ม 1 นักรบรับจ้าง. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2519.

สยุมภู ทศพล. ไม่มีคำตอบจากทุ่งไหหิน เล่ม 2 หลั่งเลือดทาแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2519.

สยุมภู ทศพล. เลือดท่วมปฐพีที่แม่น้ำงึม. กรุงเทพฯ: ผ่านฟ้าพิทยา, 2519.

สยุมภู ทศพล. วีรบุรุษเสือพราน. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2519.

สยุมภู ทศพล. หักด่านเพชฌฆาต. กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น, 2519.

สยุมภู ทศพล. ละเลงเลือดที่ภูเทิง. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2518.

สยุมภู ทศพล. ล่องแจ้ง…สมรภูมินรก. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2518.

สยุมภู ทศพล. วันชโลมเลือด. กรุงเทพฯ: ผ่านฟ้าพิทยา, 2518.

สุชาติ สวัสดิ์ศรี. “บทนำ/ทหารรับจ้าง: เกียรติภูมิของชาติอยู่ที่ไหน.” สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 11, ฉ.10 (ตุลาคม 2516): 10-12.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กองการข่าว และการต่างประเทศ [1] มท. 3.1.5. 18/5 เรื่อง การแถลงข่าวเกี่ยวกับปฏิบัติการของเครื่องบินสหรัฐในประเทศไทย (17 มิ.ย. - 9 ส.ค. 2508)

Prince Souphanouvong. “Call for Peace in Laos.” New York Time November 9, 1970. ใน หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. “หนังสือพิมพ์ตัดจากหนังสือพิมพ์ต่างประเทศ” กต. 80/294 (พ.ศ. 2511-2514)

Schlenker, Barry R., Michael F Weigold, and Kristine A. Schlenker. “What Make A Hero? The Impact of Intergrity on Admiration and Interpersonal Judgment.” Journal of Personality 76, no.2 (April 2008): 323-356.

Zasloff, Joseph J. “Laos: The Forgotten War Widens.” Asian Survey 10, no.1 (January 1970): 65-72.

Dawney, Leila. “Figurations of Wounding: Soldiers’ Bodies, Authority and the Militarisation of Everyday Life.” Geopolitics 25, no,5 (2020): 1-27.

Osornprasop, Sutayut. “Amidst the Heat of the Cold War in Asia: Thailand and the American Secret War in Indochina (1960-74).” Cold War History 7, no.3 (August 2007): 349-371.

Osornprasop, Sutayut. “Thailand and the Secret War in Laos: The Origins of Engagement,” in Cold War Southeast Asia, ed. Malcolm H. Murfett, Singapore: Marshall Cavendish International, 2012: 165-194.