สนธิสัญญาสันติภาพเอาก์สบวร์ก, 1555: ความเสื่อมถอยของสังคมระหว่างประเทศในยุคคริสเตียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้ต้องการศึกษาสนธิสัญญาสันติภาพเอาก์สบวร์กปี 1555 ในฐานะจุดเปลี่ยนที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองจากยุคคริสเตียนมาสู่ยุคสมัยใหม่ อันเป็นช่วงเวลาที่แนวคิดรัฐสมัยใหม่เริ่มก่อตัวขึ้นและกลายเป็นฐานที่มั่นทางอำนาจให้กับรัฐต่างๆ ในยุโรปยุคนั้น บทความชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของสนธิสัญญาสันติภาพเอาก์สบวร์ก ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้สนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย ผู้เขียนใช้แนวคิดของสำนัก English School ของ Ian Clark ที่ให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงการให้เหตุผลของการสร้างความชอบธรรมของสังคมระหว่างประเทศในช่วงรอยต่อระหว่างยุคคริสเตียนกับยุคสมัยใหม่มาอธิบายในบทความชิ้นนี้เป็นหลัก ผลของการศึกษาแสดงให้เห็นถึงนัยยะสำคัญของสนธิสัญญาดังกล่าวต่อการเสื่อมลงของสังคมระหว่างประเทศยุคคริสเตียน
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. ประวัติศาสตร์ยุโรปสมัยกลาง. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, ม.ป.ป.
กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. วิวัฒนาการรัฐ อังกฤษ ฝรั่งเศส ในกระแสเศรษฐกิจโลก จากระบบฟิวดัลถึงการปฏิวัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน, 2552.
ทวีศักดิ์ ล้อมลิ้ม. ประวัติศาสตร์ยุโรปสมัยใหม่ ค.ศ. 1453 - 1804. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2542.
บรรพต กำเนิดศิริ. ประวัติศาสตร์การทูตยุโรปตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ: การถ่ายทอดประเพณีทางการทูต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและสิ่งพิมพ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.
อนันต์ชัย เลาหะพันธุ. เรื่องน่ารู้ในยุโรปสมัยกลาง. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์, 2550.
Brady, Thomas A, Cameron, Euan and Henry Cohn, “The politics of religion: the Peace of Augsburg 1555: a roundtable discussion.” German History no.24, 1 (2006): 85 - 105.
Bobbitt, Philip. The shield of Achilles: war, peace, and the course of history. New York: Knopf, 2002.
Bull, Hedley. The anarchical society: a study of order in world politics. Fourth Edition. Basingstoke: Palgrave Macmillan, 2012.
Clark, Ian. Legitimacy in international society. Oxford: Oxford University Press, 2005.
Curtis, Michael. Great political theories V.1: a comprehensive selection of the crucial ideas in political philosophy from the Greeks to the Enlightenment. New York: Harper Perennial Modern Classics, 2008.
Dunne, Tim. “The english school.” In international relations theories: discipline and diversity, edited by Tim Dune, Milja Kurki and Steve Smith, 132 - 152. Oxford: Oxford University Press, 2013.
Holsti, K. J. Taming the sovereign: institutional change in international politics. Cambridge: Cambridge University Press, 2004.
Keene, Edward. International political thought: a historical introduction. Cambridge: Polity, 2005.
Resolution of the imperial Diet of Augsburg, 1555. http://pages.uoregon.edu/dluebke/Religions407/407PeaceofAugsburg1555.htm. (accessed December 31, 2014.)
Roeck, Bernd. “Rich and poor in reformation Ausburg: the city council, the Fugger bank and the formation of a biconfessional society.” In The impact of European reformation: princes, clergy, and people, edited By, Bridget Heal and Ole Peter Grell, 63 - 84. Aldershot: Ashgate, 2008.
Watson, Adam. The evolution of international society: a comparative historical analysis. London: Routledge, 2010.