ก่อนจะมาเป็น “ธัมมิกสังคมนิยมแบบเผด็จการ”: การเคลื่อนไหวทางความคิดของพุทธทาสภิกขุ ในทศวรรษ 2490 - พ.ศ. 2509
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ มุ่งอธิบายว่าภายใต้บริบททางการเมืองไทย ช่วงทศวรรษ 2490 เมื่อพระพุทธศาสนาอันเป็นอุดมการณ์หลักของชาติไทยเผชิญหน้าเข้ากับคอมมิวนิสต์ช่วงแรกๆ นั้น ในท่ามกลางข้อถกเถียงของปัญญาชนร่วมสมัย พุทธทาสภิกขุมีแนวคิดทางการเมืองและการตีความพระพุทธศาสนากับคอมมิวนิสต์อย่างไร ผลการศึกษาพบว่า พุทธทาสภิกขุเห็นว่า ระบอบคอมมิวนิสต์ เสรีนิยมประชาธิปไตย มิอาจสร้างสันติภาพถาวรได้ เพราะระบอบการเมืองดังกล่าวมุ่งบรรลุจุดประสงค์ทางวัตถุ ในทรรศนะของพุทธทาสภิกขุ ระบอบการเมืองอันพึงปรารถนา คือ ระบอบการเมืองตามหลักพระพุทธศาสนาที่มุ่งบรรลุทางจิตที่ปลดเปลื้องชีวิตออกจากโลกทางวัตถุ
Article Details
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนและสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย
ข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารนี้เป็นของผู้เขียน คณะกรรมการวารสาร ภาควิชาประวัติศาสตร์ฯ กองบรรณาธิการ ตลอดจนกรรมการกลั่นกรองประจำฉบับ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องกับข้อคิดเห็นเหล่านั้น
References
เคอร์ต เอฟ ไลเดคเกอร์ ที่ปรึกษาฝ่ายวัฒนธรรม The ForeignService of The United States of America นิมนต์พุทธทาสภิกขุแสดงปาฐกถา เรื่อง พระพุทธศาสนากับลัทธิวัตถุนิยม ในวันที่ 4 มีนาคม 2500 ที่ศาลา อเมริกัน พัฒน์พงศ์ กรุงเทพฯ เอกสารหอจดหมายพุทธ ทาส อินทปัญโญ BIA10.1/1 กิจนิมนต์ พ.ศ. 2481-2509.
พุทธทาสภิกขุ. เรื่อง พหุชนหิตประโยชน์ หรือ พุทธศาสนากับสังคม คำบรรยายในพรรษ 22 กันยายน 2495 ของพระอริยนันทมุนีเอกสารหอจดหมายพุทธทาส อินทปัญโญ BIA 6.3/14 กล่อง 2
พุทธทาสภิกขุ.ความจำเป็นที่มนุษย์จะต้องมีสาสนา. คําบรรยาย สําหรับพระภิกษุใหม่ [25 ก.ค.2495] หน้า [20]-[29] เอกสารหอจดหมายพุทธทาส อินทปัญโญ BIA3.4/4 กล่อง 1
พุทธทาสภิกขุ. เรื่องพระพุทธศาสนากับลัทธิวัตถุนิยม. เอกสารหอจดหมายพุทธทาส อินทปัญโญ BIA 6.3/25 กล่อง 2.
พุทธทาสภิกขุ. เรื่องพระพุทธศาสนากับลัทธิวัตถุนิยม. เอกสารหอจดหมายพุทธทาส อินทปัญโญ BIA 6.3/25 กล่อง 2.
พุทธทาสภิกขุ. วัตถุนิยม ปมตฺตโลกกถา ธรรมเทศนา 25 พุทธศตวรรษ กัณฑ์ที่ 1 เรื่องวัตถุนิยม ปมตฺตโลกกถา หรือ ภาวะปัจจุบันของโลกวัตถุนิยม แสดงที่วัดพระบรมธาตุ ไชยาราชวรวิหาร วันที่ 16 พ.ค. 2500 เอกสารหอจดหมายพุทธทาส อินทฺปัญโญ BIA 3.4/1 กล่อง 1.
พุทธทาสภิกขุ. วัตถุอาทีนวกถา วัตถุนิยม แสดงที่พุทธสมาคม จังหวัดสระบุรี เอกสารหอจดหมายพุทธทาส อินทปัญโญ BIA 3.4/1 กล่อง 1 วันที่ 23 มิ.ย.2500.
กัปตันสมุทร (นามแฝง). พุทธิสม์เผชิญหน้ากับคอมมิวนิสต์. กรุงเทพฯ: จงเจริญการพิมพ์, 2517.
กุหลาบ สายประดิษฐ์. อุดมธรรมกับผลงานชุดพุทธศาสนา พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2545.
กุหลาบ สายประดิษฐ์. อุดมธรรมกับผลงานชุดพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, 2531.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริและธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์, บรรณาธิการ. จาก 14 ตุลาถึง 6 ตุลา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2544.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. บรรณาธิการโดย ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์,ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข, ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552.
ปุ๋ย โรจนะบุรานนท์. ปาฐกถาเรื่อง พระพุทธศาสนากับลัทธิคอมมิวนิสต์พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2493.
พระประชา ปสนฺนธมฺโม. (สัมภาษณ์). เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา อัตชีวประวัติของท่านพุทธทาส. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2534.
พุทธทาส อินทปัญโญ และสัญญา ธรรมศักดิ์. 100 ปี ร้อย จดหมาย พุทธทาส –สัญญา. กรุงเทพฯ: แปลน รีดเดอร์ส, 2550.
พุทธทาสภิกขุ. ธัมมิกสังคมนิยม. บรรณาธิการโดย โดนัล เค สแวเรอร์.กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2529.
พุทธทาสภิกขุ. คำบรรยายหลักพระพุทธศาสนา (อบรมผู้ที่จะได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นตุลาการ) ชุดที่ 1 ประจำปี 2499 ว่าด้วย วิชาที่บอกว่าอะไรเป็นอะไร. ธรรมทานมูลนิธิไชยา, 2511.
พุทธทาสภิกขุ. คำบรรยายหลักพระพุทธศาสนา (อบรมผู้ที่จะได้รับการโปรดเกล้าฯ เป็นตุลาการ) ชุดที่ 3 ประจำปี 2501 ว่าด้วย ถอนความยึดมั่นตามหลักพุทธศาสนา. ธรรมทาน มูลนิธิไชยา, 2511.
พุทธทาสภิกขุ. ชุมนุมปาฐกถาชุดพุทธธรรม. สุราษฏร์ธานี: ธรรมทานมูลนิธิ, 2530.
พุทธทาสภิกขุ. พุทธทาสลิขิตข้อธรรม บันทึก นึกได้เอง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: แปลนรีดเดอร์ส, 2548.
พุทธทาสภิกขุ. มนุษย์ศูนย์. กรุงเทพฯ: สํานักหนังสือธรรมบูชา, 2516.
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช. พระพุทธศาสนากับคึกฤทธิ์. พระนคร: บรรณาคาร, 2510.
วิวาทะระหว่าง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช กับท่านพุทธทาสภิกขุ.พระนคร: โรงพิมพ์อาศรมอักษร, 2507.
สมบัติ จันทรวงศ์ และชัยอนันต์ สมุทวณิชย์. ความคิดทางการเมืองและสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ดวงดีการพิมพ์, 2523.
สิริวยาส (พุทธทาสภิกขุ). บทพระธรรมประจำภาพ เล่มที่ 1 คำนำและศีลธรรม. สุราษฎร์ธานี สวนโมกขพลาราม, 2549.
หลวงสุริยพงศ์สุทธิแพทย์ (กระจ่าง บุนนาค). ทัสนะในพระพุทธศาสนาปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2497.
อนาคาริก ป.สุคตานันทะ (เขียน). พระพุทธศาสนาตอบลัทธิมาร์กซิส์ม. เอ็จ ณ ป้อมเพ็ชร (แปล). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2497.
Ito,Tomomi. Modern Thai Buddhsim and Buddhadasa Bhikkhu: A social History. Singapore: NUS Press, 2012.
ณัฐพล ใจจริง. “พระบารมีปกเกล้าฯใต้เงาอินทรี แผนสงครามจิตวิทยาเอมริกัน กับการสร้างสถาบันกษัตริย์ให้เป็น “สัญลักษณ์” แห่งชาติ.” ใน ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2554): 95-130.
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. “ประเทศชาติ พระพุทธศาสนาและรัฐบาล การนิยามความเป็นไทยในการฉลอง 25 พุทธศตวรรษ.” ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 33 ฉบับที่ 12 (ตุลาคม 2555): 70-91.
Darling, Frank C. “Modern Politics in Thailand.” The Review of Politics, Vol. 24, No. 2 (April, 1962), 163 - 182. Darling, Frank C. “Marshal Sarit and Absolutist Rule in Thailand.” Pacific Affairs, Vol. 33, No. 4 (December, 1960), 347 - 360.
ชลธี ยังตรง. “ความคิดทางการเมืองพุทธทาสภิกขุ.” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.
นิติ มณีกาญจน์. “การเมืองตามเจตนารมณ์ของพระเจ้า: การทําความเข้าใจการเมืองตามทัศนะของพุทธทาสภิกขุ.” วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2553.
พัชรลดา จุลเพชร. “แนวคิดเรื่องกึ่งพุทธกาลในสังคมไทย พ.ศ. 2475-2500.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัธรรมศาสตร์ 2548.
Ito, Tomomi. “Discussion in the Buddhist public sphere in twentieth-century Thailand: Buddhadasa Bhikkhu and his world.” A thesis submitted for the degree of Doctor of Philosophy of The Australian National University 2001.