หลักสูตรฐานสมรรถนะกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21 Competency-Based Curriculum with English Language Teaching in the 21st Century

Main Article Content

พรชนนี ภูมิไชยา Pornchonnee Poomchaiya

Abstract

Competency-Based Curriculum is the curriculum that is designed to improve essential core competencies for the life of learners in the 21st century. Learning management focuses on the behavior, action and potential of the learners. Learners do not acquire content knowledge that is few useful to learners.       Learner-centered teaching and learning encourages learners to express their own abilities proficiently, to learn depends on their needs, and interests. This enables learners to have self-directed learning, to have critical thinking, teamwork and communication skills. It also enables learners to acquire the knowledge and apply to the quality of life. English plays a dominant role in the 21st century. Learners need to have English competency for communication. This leads to English language teaching as a second or foreign language in the 21st century that is the Communicative Approach: Task-Based Learning, Content-Based Instruction, and Project-Based Learning. These help learners use English in real life, develop thinking, problem solving and collaboration skills. These are consistent with Competency-Based Curriculum that requires learners to develop essential core competencies to the life of the learners.

Article Details

How to Cite
Pornchonnee Poomchaiya พ. ภ. (2021). หลักสูตรฐานสมรรถนะกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21: Competency-Based Curriculum with English Language Teaching in the 21st Century . SOCIAL SCIENCES RESEARCH AND ACADEMIC JOURNAL, 16(2), 1–14. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/249604
Section
Academic Articles

References

คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2562). รายงานพันธกิจด้านการปฏิรูปการศึกษา ผ่าน
หลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (A Commission Report on Education Reform through Competency-Based Curriculum & Instruction). กรุงเทพฯ: เอกสารสำเนา.
ทิศนา แขมมณี. (2562). 10 สมรรถนะหลัก ปั้นเด็กไทยฉลาดรู้ อยู่ดีมีสุข มีความสามารถสูงและใส่ใจ
สังคม.
ธำรง บัวศรี. (2535). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์คุรุสภา.
นิธิดา อดิภัทรนันท์ และธนัญญา กุลจลา. (2561). การใช้การเรียนแบบโครงงานเป็นฐานเพื่อเพิ่มพูนทักษะ
การอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษ และทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(3), 1544-1556.
พะเยา นุเสน. (2562) การใช้การสอนมุ่งงานปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน และเขียนภาษาอังกฤษของ
นักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 1(1), 2-16.
ภูวสิษฏ์ บุญศรี. (2562). การพัฒนากระบวนการการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการ
คิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหาของโรงเรียนบ้านโป่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
รัฐพล ศรีชัยวงศ์ และจารุณี มณีกุล. (2560). การพัฒนาบทเรียนตามแนวการสอนภาษาที่เน้นเนื้อหาเพื่อ
ส่งเสริมความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและความรู้ท้องถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(3), 253-266.
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. (2551). กฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2564, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/asean/files/Charter_TH+EN.pdf
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2563). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562. สืบค้นเมื่อ
2 มกราคม 2564, จาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/
PDF/SummaryONETM6_2562.pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). รายงานวิจัย “โครงการวิจัยเพื่อพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียน
ในระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น”. คณะอนุกรรมการด้านการเรียนการสอน คณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา, กรุงเทพฯ : อัดสำเนา.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษ ที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
Fried-Booth, D. (1986). Project work. Oxford: Oxford University Press.
Grabe, William and Stoller, Fredrica L. (1997). Content-based instruction: Research foundations.
The content-based classroom perspective on integrating language and content. New York: Addison Wesley Longman Publishing Company.
Kessler, C. (1992). Cooperative language learning: A teacher's resource book. Englewood Cliffs, N.J.:
Prentice Hall Regents.
McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than for intelligence. American
Psychologist. 28(1), 1-14.
Nunan, D. (1989). Designing tasks for the communicative classroom. Cambridge:
Cambridge University Press.
Parrott, M. (1993). Tasks for language teachers. Cambridge: Cambridge University Press.
Prabhu, N.S. (1987). Second language pedagogy. Oxford: Oxford University Press.
Ribe, R and N. Vidal. (1993). Project work step by step. Oxford: Oxford University Press.
Snow, M.A. and Brinton, D.M. (1997). Content-based classroom perspective on integrating language
and content. London: Longman.
Wajnrub, R. (1992). Classroom observation tasks. Cambridge: Cambridge University Press.
Willis, J. (1996). A framework for task-based learning. Harlow: Longman.