กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 Leadership Development Strategy of School Administrators in the 21st Century

Main Article Content

วรปรัชญ์ หลวงโย Woraprach Luangyo
สันติ บูรณะชาติ Santi Buranachat
โสภา อำนวยรัตน์ Sopa Umnueyrat
น้ำฝน กันมา Namfon Gunma

Abstract

The purposes of this research were 1) to examine the environment context and approaches to the development of school administrators leadership in the 21st century 2) to establish a strategies for the development of school administrators leadership in the 21st century. The sample of this research consisted of 129 secondary school administrators under The Office of the Basic Education Commission. Statistics employed for data analyses were percentages, arithmetic mean, and standard deviation. The environment contexts and approaches to the development were using the SWOT analysis and content analysis. The strategies formulated with the SWOT matrix. The focus group discussion was organized among 9 experts to confirm the propriety standard of the strategies.     


The finding of the research were as follows:                       


1. The leadership of school administrators in the 21st century as a whole was at the highest level. Ethical and moral  aspects with the highest average, followed by cooperation skills, technology and communication, creativity and vision.The SWOT analysis indicated that as for the internal contexts affecting School administrators have knowledge and skills in the use of technology was the most strengthening variables but lacked the knowledge and skills to use the english language were weakening variables. As for the external contexts, the community and local leaders take part in improving the quality of education was the supporting variable and political interference with educational policy was the threat variable. The approach to developing the leadership of the school administrators is that the school administrators use technology and develop innovation for management. Collaborate with the community to develop the school. Behave as a good school administrator.


2.The leadership development strategy of school administrators in the 21st century consists of 5 strategies, 11 sub-strategies, 59 measures and 51 indicators, which is the most propriety level.

Article Details

Section
Dissertations

References

กมลวรรณ เภกะนันทน์ และชญาพิมพ์ อุสาโห. (2556). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารระดับกลางของโรงเรียนในเครือคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย. (กรกฏาคม-ธันวาคม 2556) : 151-163.
ธนาคารกรุงเทพ. (2559). เส้นทางสู่โมเดลประเทศไทย 4.0. สืบค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2559, จาก http://www.bangkokbanksme.com/article/5992.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : แอล.ที.เพรส.
ธีระ รุญเจริญ. (2554). ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
ธีระ รุญเจริญ. (2555). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : แอล.ที.เพรส.
ธงชัย สันติวงษ์. (2546). การบริหารสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ประชุมช่าง.
นิตย์ สัมมาพันธ์. (2546). ภาวะผู้นำ : พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิค.
ประครอง บุญครอง. (2558). รูปแบบกลยุทธ์การ พัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (มกราคม-มิถุนายน 2558) : 14-22.
ประชาติธุรกิจ. (2559). ปรับ "ทักษะ-เรียนรู้" รับ Thailand Economy 4.0. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2559, จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid =1468862379
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2547). ภาวะผู้นำของไทยในอนาคต ใน ประยงค์ คงเมือง, ผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
รักเกียรติ หงษ์ทอง. (2559). ภาวะผู้นำ. เพชรบุรี : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
วิจารณ์ พานิช. (2558). การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: เอส อาร์ พริ้นติ้ง.
วิชัย วงศ์ใหญ่. (2557). สี่เสาหลักของการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2262 จาก www.curriculumandlearning.com /upload/สี่เสาหลักทางการศึกษา_1400078221.pdf..
วิจิตร ศรีสะอ้าน. วิจิตรชี้การศึกษาไทยขาดผู้นำ. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2561, จาก http://www.komchadluek.com/section/การศึกษา.
สกุณา อินอยู่. (2558). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 และ 2. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17(1), 59-70.
สุกรีย์ อุดคนดี. (2555). ศึกษาภาวะผู้นำเชิงเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในทศวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.
สำนักงานนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). นโยบายงบประมาณปี 2560 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : กระทวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2558). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). รายงานสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านผู้เรียน. กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.
อรรธิกา พังงา. (2556). “เส้นทางสู่การสร้างองค์กรนวัตกรรม.” สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2559, จาก http://articles.citu.tu.ac.th/wp-ontent/uploads/2013/04/Research10new.pdf
Aumiller, E. (2009). Framework for 21st Century Learning. [online] : Avaliable from :
http.//www.21stcenturyskill,org [2009,December 19]
Partnership for 21st Century Skills. (2011). 21st Century Skills. Retrieved September 15, 2012, from http://www.p21.org
Watson. (2000). Watson, Samy Hanna. Leadership Requirements in the 21st Century: The Perceptions of Canadian Private Sector Leaders, Dissertation Abstracts International. 13 (1), 43-57. Retrieved January 15, 2013, from http://www.annbadillo.com/leadership/2013/01/