แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก The Leadership Development Guidelines of the School Administrators in the Secondary Schools in Phitsanulok in the Digital Era

Main Article Content

ณิรดา เวชญาลักษณ์ Nirada Wechayaluck

Abstract

              The purposes of this study were to study 1) the leadership of the school administrators in the secondary schools in Phitsanulok in the digital era and 2) the guidelines to develop leadership of the school administrators in the secondary schools in Phitsanulok in the digital era. The population in this study was 39 secondary schools in Phitsanulok which were purposively selected. The number of the informants was 78 people, comprised of 39 school administrators and 39 academic heads. The seven experts were interviewed to identify leadership development guidelines in the digital era. The results of the study were found that the mean of the leadership of the administrators in general was at the highest level. When each aspect of the leadership of the administrators was studied, the mean of the development towards professionalism aspect was at the highest level, while that of the communication aspect was at the lowest level. In addition, for leadership development guidelines, personnel should be trained and developed on their skills of using technology, and technological facilities should also be provided to increase the work efficiency of technological personnel correctly.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

เกตุชญา วงษ์เพิก. (2564). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ในยุคดิจิทัลสู่องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 5 (2), 467-478.

ณัฏฐณิชา พรปทุมชัยกิจ, อุดมพันธุ์ พิชญ์ประเสริฐ และพงษ์ศักดิ์ ทองพันชั่ง. (2562). ภาวะผู้นํายุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ศรีสะเกษ ยโสธร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(2), 50–64.

นราธิป โชคชยสุนทร์, วาโร เพ็งสวัสดิ์ และเอกลักษณ์ เพียสา. (2564). ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. วารสารบัณฑิตศึกษา, 18(80), 90-95.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2560). แผนแม่บทการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย.

สุภวัช เชาวน์เกษม, วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ และสุดารัตน์ สารสว่าง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วารสารการจัดการการศึกษาและนวัตกรรม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 3(3), 85-99.

สุรีรัตน์ รอดพ้น, นเรศ ขันธะรี และสุวิมล โพธิ์กลิ่น. (2564). การศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนประชารัฐ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 9 (35), 36-45.

อรสา มาสิงห์. (2562). การพัฒนาทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 13(2), 103-116.

Lussier, R.N. (2005). Human Relation in Organization: Application and Skill Building. (6 ed.) New York: Mc Graw-Hill.

Sheninger, E. (2014). Digital Leadership: Changing paradigms for changing times. California: United States of America.