วิถีแห่งกาแฟกับประโยชน์ มูลค่า และความสัมพันธ์ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจโลก: เรื่องเล่าเมื่อข้าพเจ้าได้รับสตาร์บัคส์จากพระมหาประโยค 9
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้เป็นการสะท้อนคิดผ่านวิถีกาแฟในวิถีชีวิตประจำวัน ใช้การบทสนทนา การสัมภาษณ์ การศึกษาเอกสารจากบทความและงานวิจัย จากนั้น นำมาเขียนเป็นความเรียง ผลการศึกษาพบว่า กาแฟมีประโยชน์และมูลค่าทางเศรษฐกิจในวงกว้างระดับโลก ซึ่งมีผู้ผลิตและบริโภคจำนวนมาก โดยในประเทศไทยมีผู้ผลิตกาแฟส่งออกทั่วโลกและมีความเจริญเติบโตมูลค่าทางเศรษฐกิจในจำนวนที่สูงขึ้น นอกจากนี้ กาแฟยังเป็นการสะท้อนวิถีชีวิต พัฒนาการทางสังคมในวิถีของการบริโภค ความเชื่อ มิตรภาพและความสัมพันธ์ดังกล่าวด้วย โดยกาแฟยังเป็นการจำแนกชั้นทางสังคมผ่านการดื่มกาแฟ เช่น ร้านกาแฟโบราณ กาแฟข้างทาง และกาแฟที่มีแบรนด์ที่มีแฟรนไซส์สาขาจากต่างประเทศและแฟรนไชส์จากในประเทศด้วยเช่นกัน องค์ความรู้ใหม่ คือ กาแฟเป็นกลไกทางเศรษฐกิจที่มีโครงสร้างในระดับมหภาคที่เกาะเกี่ยวกับประชาคมทั่วโลกที่เป็นทั้งโภชนาการ คุณค่าด้านสุขภาวะ และมูลค่าที่เชื่อมสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจโลกด้วย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
คมชัดลึกออนไลน์. (8 กุมภาพันธ์ 2563). สุโขทัย ชาวไทยเชื่อสายจีนแห่เจ้าปุงเถ่ากง-ม่า รับประเพณีฮ่วงเซียวอย่างยิ่งใหญ่. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก https://www.komchadluek.net/news/415661
จิรวุฒิ กุจะพันธ์ และคณะ. (2556). การดื่มกาแฟหรือชากับการตายด้วยโรคเบาหวาน: การศึกษาระยะยาวไปข้างหน้า จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 6 (3), 110-115.
เจริญชัย เอกมาไพศาล. (2561). ภูมิทัศน์บริการในธุรกิจร้านกาแฟ-กรณีศึกษา ร้านวูว์ คาเฟ่, อาร์ต แกลอรี่ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย. NIDA Case Research Journal. 10 (1), 52-75.
ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการการรับรู้ของผู้บริโภคกับคุณค่าแบรนด์: กรณีศึกษาการตลาดแบบยั่งยืนของร้านกาแฟคาเฟ่อเมซอน. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์. 14 (1), 1-11.
ฐานเศรษฐกิจ. (11 มีนาคม 2564). ค้นหา “เมล็ดกาแฟ” ที่สุดแห่งปี 2564. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2564, จาก https://www.thansettakij.com/content/Macro_econ/471788
ณัฏฐ์นรี บุญพสิษฐ์ และขาม จาตุรงคกุล. (2564). การออกแบบอัตลักษณ์แบรนด์กาแฟด้วยทุนวัฒนธรรมประเทศเวียดนาม. วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย (Built Environment Inquiry BEI). 20 (2), 15-30.
โดม ไกรปกรณ์. (2557). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สมัยอาณานิคม: มองผ่านการผลิตและบริโภคกาแฟ. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 33 (2), 5-20.
นันทนา จงใจเทศ และคณะ. (2552). สารอาหารในกาแฟเย็น รายงานการวิจัย ปี 2552. กรุงเทพมหานคร: สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
ปริญญา หวันเหล็ม. (2563). จิบกาแฟ แลเล เขเรือ: การท่องเที่ยววิถีวัฒนธรรมชาวเลอ่าวทองคำ อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 10 (1), 155-184.
พระมหาชาติชาย ปญฺญาวชิโร. (2563). อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษย์วิทยา. สัมภาษณ์. 14 พฤษภาคม.
พระมหานิกร ฐานุตฺตโร. (2563). อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์. สัมภาษณ์. 15 พฤษภาคม.
พระเอกลักษณ์ อชิโต และคณะ. (2563). “ผี” ท้องถิ่นกับการทำให้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในวัดทางศาสนาสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษาวัดเจดีย์ (ไอ้ไข่) อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสาร มจร สังคมศาสตรปริทรรศน์. 9 (4), 269-283.
วิเชียร โสมวิภาต. (2563). การศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและพฤติกรรม ของผู้บริโภคกาแฟสดร้านกาแฟ ALL CAFÉ ในจังหวัดนครสวรรค์. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7 (12), 160-177.
อวยพร อภิรักษ์อร่ามวง. (2548). การบริโภคกาแฟกับความเสี่ยงต่อเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารไทยไภสัชยนิพนธ์. 2 (เมษายน), 81-91.
Biz&Marketing News. (16 พฤษภาคม 2561). เทียบฟอร์ม!! คาเฟ่อเมซอน VS สตาร์บัคส์ ศึกชิงตลาดกาแฟ 3 หมื่นล้าน. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2563, จาก https://www.marketingoops.com/news/biz-news/cafe-amazon-2/
Mr.362degree. (13 มิถุนายน 2561). 20 ปี “STARBUCKS” ในเมืองไทย กวาดรายได้ 3.98 หมื่นล้าน-กำไรสะสมกว่า 4 พันล้านบาท. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://bit.ly/2qVQXEa
ThaiFranchiseCenter. (11 ธันวาคม 2562). คาเฟ่ อเมซอน เตรียมเปิดสาขาเพิ่มในฟิลิปปินส์ 20 แห่ง ในปี 2563. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://www.thaifranchicenter.com/document/show.php?docuID=5412
THE BATTLE. (22 กุมภาพันธ์ 2564). ตลาดกาแฟ: ยิ่งดื่ม ยิ่งเปิดสาขาเพิ่ม ยิ่งโต. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2565, จาก https://marketeeronline.co/archives/210206