แนวโน้มคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (2562) และจัดลำดับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการหาฉันทามติโดยเทคนิควิธีพหุลักษณะ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่ามัธยฐาน
ผลการวิจัย พบว่า
- ผลการสังเคราะห์แนวโน้มคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (2562) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการศึกษาเอกสาร แนวคิด และสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ พบว่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า มีองค์ประกอบหลัก 5 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความรู้ ด้านทักษะความสามารถ และด้านทักษะชีวิต
- ผลการศึกษาความเป็นฉันทามติโดยเทคนิควิธีพหุลักษณะแนวโน้มคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (2562) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีองค์ประกอบหลัก 5 ด้าน 15 องค์ประกอบย่อย 73 ตัวบ่งชี้
- ผลการจัดลำดับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า (2562) ตามองค์ประกอบหลัก 5 ด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยได้ลำดับ ดังนี้ ด้านทักษะชีวิต ด้านจิตใจ ด้านร่างกาย ด้านทักษะความสามารถ และด้านความรู้
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ระบบดูแลการช่วยเหลือนักเรียน หลักการ แนวคิด และทิศทางในการดำเนินงาน. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
2. กองส่งเสริมพลศึกษาและสุขภาพ. (2557). สมรรถภาพทางกาย. เข้าถึงได้จาก http://www.Hovabizz.com
3.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: วิ.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.
4. เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.(2558). ทักษะแห่งอนาคตใหม่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วันที่ค้นข้อมูล 22 มกราคม (2558). เข้าถึงได้จาก www.QLF. Or.th
5. ฉันทวิทย์ สุชาตานนท์. 2556. เตรียมตัวเปิดประตูสู่อาเซียน: รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ 10 ปี สมศ. ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 - 2558). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
6. ชัยเลิศ พิชิตพรชัย.(2556). E – Learning: คุณภาพศิษย์สะท้อนคุณภาพครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)
7. ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์. (2555X. ระบบเศรษฐกิจและพัฒนาการเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร: ส.เสริมมิตรการพิมพ์.
8. ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
9. ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2550). ปาฐกถาพิเศษเรื่องคุณธรรมจริยธรรมกับปัญหาเยาวชนในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักผู้ตรวจการแผ่นดิน.
10. บัญชา แสงหิรัญ. (2556). บันไดก้าวสู่ความสำเร็จ: คุณภาพศิษย์สะท้อนคุณภาพครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน).
11. ผาณิต นิติทัณฑ์ประกาศ. (2556). พฤติกรรมบ่งชี้คุณธรรม: คุณภาพศิษย์สะท้อนคุณภาพครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน).
12. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. 2547. จิตวิทยาครอบครัว. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
13. พิณสุดา สิริธรังศรี. (2553). ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10 - 12 ปี. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.
14. พีระ พนาสุภณ. (2557). ทักษะผู้เรียน 10 ประการ. วารสารการศึกษาต้องมาก่อน, 3.
15. ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2550). โครงการวิจัยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้. โครงการวิจัยบูรณาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
17. วีรวัฒน์ วรรณศิริ. (2556). สรุปการเสวนา “ค่า O – NET/V – NET สะท้อนคุณภาพอย่างไร: คุณภาพศิษย์สะท้อน คุณภาพครู. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
18. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). การเสริมสร้าง “ทักษะชีวิต” ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
19. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.
20. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
21. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2555). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :สกสค. ลาดพร้าว.
22. อุทัย ดุลยเกษม. (2546). รายงานยุทธศาสตร์ของสังคมไทยในการสร้างวิถีการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา.
23. โอฬาร ไชยประวัติ. (2551). การเสวนาเรื่อง ยุทธศาสตร์การยกคุณภาพการศึกษา: ผลิดอกออกผล 9 ปี แห่งการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนาคุณภาพ.
24. Dworetzky, John P. (1999). Psychology. 6th ed. Western Washington University. Washington Book / Cole Publishing.
25. Harvey, E. K. (1999). High Hopes: A Qualitative study of Family values guiding “home schooting” education in the multi – ethnic environment of Hawaii. Retrieved Available from http//:www.lib.Umi/dissertations/fullcit/ 9932026
26. Mangrulkar, L., Whitman, C. V., & Posner,M. (2001). Life skills adolescent health human development. Washington, D.C. Education Development Center.
27. Neeley, S. J. (2004). A model comprehensive development guidance and counselling: Program for test Public school.. Austun: TAXAS Education Agercy
28. Thompson, R. A. (2003). Counselling technique: Improving relationship with Others, ourselves, our environment. New York: Brunner Rutledge.
2. กองส่งเสริมพลศึกษาและสุขภาพ. (2557). สมรรถภาพทางกาย. เข้าถึงได้จาก http://www.Hovabizz.com
3.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: วิ.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.
4. เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.(2558). ทักษะแห่งอนาคตใหม่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วันที่ค้นข้อมูล 22 มกราคม (2558). เข้าถึงได้จาก www.QLF. Or.th
5. ฉันทวิทย์ สุชาตานนท์. 2556. เตรียมตัวเปิดประตูสู่อาเซียน: รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ 10 ปี สมศ. ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554 - 2558). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
6. ชัยเลิศ พิชิตพรชัย.(2556). E – Learning: คุณภาพศิษย์สะท้อนคุณภาพครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน)
7. ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์. (2555X. ระบบเศรษฐกิจและพัฒนาการเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร: ส.เสริมมิตรการพิมพ์.
8. ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
9. ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2550). ปาฐกถาพิเศษเรื่องคุณธรรมจริยธรรมกับปัญหาเยาวชนในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักผู้ตรวจการแผ่นดิน.
10. บัญชา แสงหิรัญ. (2556). บันไดก้าวสู่ความสำเร็จ: คุณภาพศิษย์สะท้อนคุณภาพครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน).
11. ผาณิต นิติทัณฑ์ประกาศ. (2556). พฤติกรรมบ่งชี้คุณธรรม: คุณภาพศิษย์สะท้อนคุณภาพครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน).
12. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. 2547. จิตวิทยาครอบครัว. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
13. พิณสุดา สิริธรังศรี. (2553). ภาพการศึกษาไทยในอนาคต 10 - 12 ปี. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.
14. พีระ พนาสุภณ. (2557). ทักษะผู้เรียน 10 ประการ. วารสารการศึกษาต้องมาก่อน, 3.
15. ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2550). โครงการวิจัยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้. โครงการวิจัยบูรณาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
17. วีรวัฒน์ วรรณศิริ. (2556). สรุปการเสวนา “ค่า O – NET/V – NET สะท้อนคุณภาพอย่างไร: คุณภาพศิษย์สะท้อน คุณภาพครู. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
18. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). การเสริมสร้าง “ทักษะชีวิต” ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
19. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.
20. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
21. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2555). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :สกสค. ลาดพร้าว.
22. อุทัย ดุลยเกษม. (2546). รายงานยุทธศาสตร์ของสังคมไทยในการสร้างวิถีการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา.
23. โอฬาร ไชยประวัติ. (2551). การเสวนาเรื่อง ยุทธศาสตร์การยกคุณภาพการศึกษา: ผลิดอกออกผล 9 ปี แห่งการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนาคุณภาพ.
24. Dworetzky, John P. (1999). Psychology. 6th ed. Western Washington University. Washington Book / Cole Publishing.
25. Harvey, E. K. (1999). High Hopes: A Qualitative study of Family values guiding “home schooting” education in the multi – ethnic environment of Hawaii. Retrieved Available from http//:www.lib.Umi/dissertations/fullcit/ 9932026
26. Mangrulkar, L., Whitman, C. V., & Posner,M. (2001). Life skills adolescent health human development. Washington, D.C. Education Development Center.
27. Neeley, S. J. (2004). A model comprehensive development guidance and counselling: Program for test Public school.. Austun: TAXAS Education Agercy
28. Thompson, R. A. (2003). Counselling technique: Improving relationship with Others, ourselves, our environment. New York: Brunner Rutledge.