วิธีการบริหารจัดการเชิงท่องเที่ยวของวัดเจติยภูมิ (พระธาตุขามแก่น)
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการบริหารจัดการเชิงท่องเที่ยวของวัดเจติยภูมิ (พระธาตุขามแก่น) จังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยทางคุณภาพ (Qualitative research) โดยการศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร (Documentary research) และการสัมภาษณ์เชิงลึกแบ่งการออกเป็นสัมภาษณ์พระภิกษุ 3 รูป นักท่องเที่ยวจำนวน 16 คน คนในชุมชน 3 คน รวมทั้งหมด 22 คน และศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic research) ผลการวิจัย พบว่า วัดมีแนวทางบริหารการจัดการ 5 ด้านคือ 1.การจัดการพื้นที่ 2.การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก 3.การจัดการองค์กร 4.การจัดการกิจกรรมของวัด และ 5.การจัดการการประชาสัมพันธ์
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
1. กมลพร มูลอามาตย์. (2556). การศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยวเชิงศาสนาของ ผู้สูงอายุ ในจังหวัดขอนแก่น. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการ ท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. กุลวดี ละม้ายจีน. [ม.ป.ป.].เอกสารประกอบการสอน วิชาวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ.อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (ไม่ได้ตีพิมพ์).
3. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2551). พระอารามหลวง เล่ม 1.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
4. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557.กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.
5. กองนโยบายและแผนงาน. (2555). ศาสนสถานประเภทวัดในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2555. รายงานการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร.
6. จุมพล หนิมพานิช. (2553). สังคมมนุษย์ Human Societyหน่วยที่ 1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
7. จุลนี เทียนไทย. (2553). มานุษยวิทยาธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
8. ธนวัฒน์ แสนคำวงษ์. (2553). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงศาสนารอบบึงแก่นนคร อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.รายงานการศึกษาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
9. ปานทิพย์ อัฒนวานิช. (2553). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
10. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมาลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : บริษัท เอสอาร์พริ้นติ้งแมสโปรดั๊ก จำกัด.
11. สนิท สมัครการ. (2545). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาการของสังคม.ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
12. เสมอชัย พูนสุวรรณ. (2544). วิทยาศาสตร์กับความจริงในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
13. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2554). คู่มือการพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพฯ : กองพุทศาสนสถาน.
14. สุรศักดิ์ ศิลาวรรณา. (2550). การท่องเที่ยวและการเผยแพร่พระพุทธศาสนา : บทบาทของวัดในเขต กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาวัดบวรนิเวศวิหารและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม.สารนิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
15. Luther Gulick. (1937). Papers on the Science of Administration: New York City
16. Henri Fayol. (1916). Administration industrielle et générale: Blackwell Publishing Ltd.
2. กุลวดี ละม้ายจีน. [ม.ป.ป.].เอกสารประกอบการสอน วิชาวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ.อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (ไม่ได้ตีพิมพ์).
3. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2551). พระอารามหลวง เล่ม 1.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
4. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557.กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.
5. กองนโยบายและแผนงาน. (2555). ศาสนสถานประเภทวัดในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2555. รายงานการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร.
6. จุมพล หนิมพานิช. (2553). สังคมมนุษย์ Human Societyหน่วยที่ 1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
7. จุลนี เทียนไทย. (2553). มานุษยวิทยาธุรกิจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
8. ธนวัฒน์ แสนคำวงษ์. (2553). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงศาสนารอบบึงแก่นนคร อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.รายงานการศึกษาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
9. ปานทิพย์ อัฒนวานิช. (2553). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
10. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมาลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : บริษัท เอสอาร์พริ้นติ้งแมสโปรดั๊ก จำกัด.
11. สนิท สมัครการ. (2545). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมกับการพัฒนาการของสังคม.ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
12. เสมอชัย พูนสุวรรณ. (2544). วิทยาศาสตร์กับความจริงในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
13. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2554). คู่มือการพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพฯ : กองพุทศาสนสถาน.
14. สุรศักดิ์ ศิลาวรรณา. (2550). การท่องเที่ยวและการเผยแพร่พระพุทธศาสนา : บทบาทของวัดในเขต กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาวัดบวรนิเวศวิหารและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม.สารนิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
15. Luther Gulick. (1937). Papers on the Science of Administration: New York City
16. Henri Fayol. (1916). Administration industrielle et générale: Blackwell Publishing Ltd.