ศูนย์การค้ากับการจัดการสิ่งแวดล้อมและการลดปัญหาโลกร้อน
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาการจัดการของศูนย์การค้าในการป้องกัน แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน ตลอดจนปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่อการจัดการดังกล่าว 2) เสนอแนวทางในการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อนของศูนย์การค้าอย่างเป็นรูปธรรม โดยได้ศึกษาศูนย์การค้า 11 แห่ง ที่เป็นสำนักงานใหญ่ที่มีที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล วิธีการศึกษาทำการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกค้า การสังเกตการณ์ในพื้นที่และจากเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลได้พิจารณา 4 มิติของ Deming Model (Plan,Do,Check,Act) และการวิเคราะห์กลยุทธ์ (SWOT Analysis) ผลการศีกษาพบว่าทุกศูนย์การค้าที่ทำการศึกษาให้ความใส่ใจดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี บางแห่งได้รับประกาศนียบัตรด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมระดับสากล(ISO14001) และเกือบทุกแห่งจัดทำโครงการความรับผิดชอบต่อสังคม(ISO26000) อย่างไรก็ดี ยังมีข้อแนะนำบางประการเพื่อพัฒนาให้ศูนย์การค้ามีการจัดการสิ่งแวดล้อมและร่วมมือลดปัญหาโลกร้อนให้ดียิ่งขึ้น
Article Details
References
2. จำลอง โพธิ์บุญ. 2547. การบริหารโครงการสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพมหานคร:ทิพย์เนตรการพิมพ์.
3. จำลอง โพธิ์บุญ.2556. การจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน.กรุงเทพมหานคร.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
4. จำลอง โพธิ์บุญ. 2550. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี:ศึกษากรณีเทศบาลนครพิษณุโลก.วารสารร่มพฤกษ์, 26 (3) 1-39
5. เชาวฤทธิ์ สาสาย. 2545. การบริหารจัดการองค์กร: กรณีศึกษาเครดิตยูเนียนในเขตมิสซังคาทอลิกอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
6. นรินทร์ ฤทธิรงค์.2543.ความตระหนักขององค์กรทางสังคมในบริเวณตอนกลางลุ่มน้ำปัตตานีต่อการจัดการขยะ: กรณีศึกษา ตำบลตลิ่งชัน ตำบลท่าสาปจังหวัดยะลา และตำบลม่วงเตี้ย จังหวัดปัตตานี.ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2543: 54)
7. บุญแสง ชีระภากร. 2552. ภาวะผู้นำและการบริหารงานของผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
8. ปัถมาภรณ์ สุทธิประเสริฐ. 2555. การจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
9. เพ็ญทิพย์ เหล่าบุญเจริญ, สุมาลี รุ่งศรีสุทธิวงศ์; และจริยา ทับเอี่ยม (2539). ผลของการใช้กลยุทธ์การตลาด เพื่อสิ่งแวดล้อม ที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าประเภทอุปโภคบริโภคของผู้บริโภคและต่อทัศนคติของผู้ประกอบการ. ปัญหาพิเศษ บธ.ม.(การตลาด) กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
10. มานิจ วราภาคย์. 2545. องค์กรแบบราชการตายแล้ว. กรุงเทพมหานคร:มติชน
11. วชิรา ยศศรี. 2555. การประเมินผลการดำเนินงานความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา โครงการปลูกป่าชายเลนเฉลิมพระเกียรติ (บางปู) บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด. วิชาการค้นคว้าอิสระคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
12. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ และทวีสุข แสนสุข.2531.บทบาทขององค์กรในท้องถิ่นที่มีต่อการบริหาร และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาจังหวัดพะเยา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.(2531: 93-98)
13. ศิวพา สิริจามร และจำลอง โพธิ์ บุญ. 2553. ธรรมาภิบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 6 (มกราคม-มิถุนายน): 52-57
14. ศราพร ไกรยะปักษ์. 2552. รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการพลังงานชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
15. สมาน รังสิโยกฤษฎ์.2530. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: สวัสดิการ สำนักงาน ก.พ.
16. สถาพร ปิ่นเจริญ. 2554. ภาวะผู้นำกับการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.
17. สุเทพ ธีรศาสตร์. 2540. มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14000). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). (2540: -3-2—3-5)
18. เสน่ห์ จุ้ยโต. 2545. องค์การสมัยใหม่. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
19. สุพรรณี ไชยอำพร. 2552. การวิจัยเชิงคุณภาพ:แนวความคิด วิธีการ และการประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร:ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์.
20. สยาม อรุณศรีมรกต และไกรชาติ ตันตระการอาภา. 2549. การตรวจประเมินระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2004 ภายในองค์กร. นครปฐม: คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ และคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
21. สุรพันธ์ สวัสดิพรรค (2545). ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อองค์กรธุรกิจที่ใช้นโยบายการตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม. ปัญหาพิเศษ บธ.ม. (การบริหารทั่วไป) ชลบุรี: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพา. ถ่ายเอกสาร.
22. Ashatu H.2009.The use of Triangulation in Social Sciences Research: Can qualitative and quantitative methods be combined?.Retrived August 14,2016 from http://jcsw.no/local/media/jcsw_issue_20009_1_8_article.pdf
23. Bryman,A. 2001. Qualitative Research Methods for the Social Sciences. Boston: Allyn and Bacon.
24. Colaizzi, P.F. 1978. Existential Phenomenological Alternatives for Phychology. R vaik and M King. eds. New York: Oxford University Press.
25. Juito, S. 2002. Modern Organization . Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University. (In Thai).
26. Northouse, P. G. 2001. Leadership: Theory and Practice . nd. Thousand Oaks, CA: SagePoboon, C. 2007. Community Participation in Resources and Environmental Management [InThai]. Journal of Environmental Management. 3(1): 141 – 174.
27. Rangsiyokrit, S. 1987. General knowledge of Human Resource Management [In Thai]. OfficeOf Civil Service Commission.
28. Sarsai, C. 2002. Organization Management: A Case Study of Credit Union in Missang Catholic, Ubon ratchathani. Unpublished. Master’s Thesis National Institute of Development Administration. (In Thai).
29. UNFCCC. 2008. CDM Statistics. CDM. Retrieved on 21 March 2008 from http://cdm.unfccc.int/Statistics/index.html