ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความครอบคลุมทางสังคมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ และปัจจัยต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับความครอบคลุมทางสังคมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-square Test) วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง และไม่เห็นด้วยในการให้สิทธิ์กับผู้อพยพให้มาเป็นผู้นำทางการเมืองและผู้บริหารประเทศ รวมไปถึงการไม่เห็นด้วยที่เพศชายมีบทบาทมากกว่าเพศหญิงในด้านผู้นำ ด้านการศึกษา และด้านการบริหารจัดการ อีกทั้งประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ในเรื่องการถูกแบ่งแยกทางสังคมในเรื่องต่างๆ รวมถึงไม่มีประสบการณ์การถูกปฏิเสธจากธนาคารหรือสถาบันการเงินในเรื่องการไม่ให้เครดิตในการกู้เงินและไม่มีประสบการณ์ที่ยากลำบากในการขนส่งสาธารณะ ส่วนปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความครอบคลุมทางสังคม ได้แก่ เพศ อายุ ศาสนา สถานภาพสมรส สุขภาพ ความเต็มใจในการบริจาคเงินร้อยละ 10 ของรายได้ และความคาดหวังในการช่วยเหลือจากภาครัฐหรือเอกชน
Article Details
References
2. จอห์ เอฟ ฮอบกินส์. มปป. การให้อย่างคริสเตียน. ศูนย์ศึกษาพระคริสตธรรม สหคริสตจักรเพนเตคอสแห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร
3. ชัยอนันต์ สมุทวณิช. ศาสนากับการเมือง. เข้าถึงได้จาก http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx NewsID =9550000101963&CommentReferID
=21824156&CommentReferNo=3& : 23 กันยายน 2555
4. ฐิติมา กุลอัชชะกิจ. (2543). การยอมรับทางสังคมของคนพิการ: ศึกษากรณีศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพทาง อาชีพของภาครัฐและเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
5. ธัญลักษณ์ อิสระ. (2553). ความสามารถร่วมกันในการพยากรณ์ของการสนับสนุนทางสังคม การเข้าใจ และความพึงพอใจในชีวิตสมรสที่มีต่อการให้อภัยคู่สมรส. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6. พนิดา หอมบุญยงค์. (2552). รูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้หญิงวัยทำงานที่มีสถานภาพโสดในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
7. ภาศิริ เขตปิยรัตน์ และสินินาท วิกรมประสิทธิ์. (2554). รายงานการวิจัยความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจ (4ปี) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2553. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
8. ว.วชิรเมธี. เงินงอกงามธรรมงอกเงย (๗): คันฉ่องและโคมฉาย. เข้าถึงได้จาก http://www.komchadluek.net/detail/20120612/132580/%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%
B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%A2(%E0%B9%97).html : 23 ตุลาคม 2555
9. สถาบันพระปกเกล้า. (2551). สตรีกับการเมือง: ความเป็นจริง พื้นที่ทางการเมือง และการขับเคลื่อน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพลส.
10. สุรสิทธิ์ วชิรขจร. (2553). บทความคุณภาพสังคม: จากยุโรปสู่ประเทศไทย. คุณภาพสังคมเพื่อคุณภาพประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
11. สุริชัย หวันแก้ว. (2550). คนชายขอบจากความคิดสู่ความจริง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
12. เสรีภาพ ณ ชะเยือง. พลังศาสนาในทางการเมือง. เข้าถึงได้จาก http://freewhitedove.multiply.com/journal/item/ : 23 กันยายน 2555
13. เสาวลักษณ์ กิติประภัสร์. มปป. ความสุข: การวัดความสุขของคนในชาติ และนโยบายที่ส่งเสริมให้คนเป็นสุข ควรเป็นอย่างไร. ใน วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
14. อนุสรณ์ บุญเรือง. (2551). การย้ายถิ่นเพื่อการศึกษาและการเปลี่ยนสถานะทางสังคม: กรณีศึกษาพระเชียงตุงที่เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
15. Crampton, S.M. and Mishra, J.M. (1999). Women in management. Retrieved September 24, 2012, from http://dbonline.lib.cmu.ac.th/mds/detail.nsp