การพัฒนาและประเมินแนวทางกระดานสนทนาสุขภาพ เพื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยในครอบครัว

Main Article Content

กมลชนก เศรษฐบุตร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา สังเคราะห์แบบจำลอง ออกแบบแนวทาง และศึกษาถึงความจำเป็น ความต้องการใช้กระดานสนทนาสุขภาพเพื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยในครอบครัว ซึ่งประโยชน์ของงานวิจัยนี้จะนำไปใช้สร้างเป็นตอนแบบกระดานสนทนาเพื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุต่อไป การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม จากประชากรจำนวน 48 คน ที่มีคุณสมบัติในเรื่องบทบาทและความเกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุไทยในครอบครัวตามที่กำหนดไว้ผลการวิเคราะห์พบว่ากระดานสนทนาที่สร้างขึ้นมานี้จะช่วยให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุไทยในครอบครัวได้รับข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยเนื้อหาจะต้องมีคุณภาพ ให้ความเพลิดเพลิน ทันเหตุการณ์ ดังนั้น สมาชิกในกระดานสนทนาจะรวมตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะและสนับสนุนให้มีการบอกต่อไปยังผู้อื่น ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นชุมชนที่เหนียวแน่นในที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. กมลชนก เศรษฐบุตร. (2563). การแสวงหาข้อมูลจากกระดานสนทนาไทยเกี่ยวกับเนื้อหาด้านสุขภาพที่ประสบความสำเร็จ. วารสารการสื่อสารและการจัดการนิด้า. 6 (2): 1-19.
2. กิติพัฒน์นนทปัทมะดุลย์. (2554). การวิจัยเชิงคุณภาพในสวัสดิการสังคม: แนวคิดและวิธีการวิจัย. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
3. จีราพร ทองดี, ดาราวรรณ รองเมืองและฉันทนา นาคฉัตรีย์. (2555). ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ,22 (3): 88-99.
4. ไทยรัฐออนไลน์. อยากรู้มั้ย? หลังบ้าน 'พันทิป' เว็บบอร์ดดังทำงานยังไง? (Online). เข้าถึงได้จาก: https://www. thairath.co.th /lifestyle/tech/howto/919080. 2560.
5. ปกรณ์ ใยมณีและอรัญญา ตุ้ยคำภีร์. (2560). การปรับตัวทางจิตวิทยาและการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุและผู้ดูแล: การศึกษาวิจัยเชิงประจักษ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
6. โพสต์ทูเดย์. เปิดใจ “อาชีพแอดมิน” ผู้รองรับอารมณ์คนโซเชียล "งานดี รายได้งาม" ที่ต้องรับผิดชอบสูง. (Online). เข้าถึงได้จาก: https://www.posttoday.com/social/general/594805. 2562.
7. ภัสสร ลิมานนท์. (2529). การศึกษา ทัศนคติ และค่านิยมของสตรีไทยเกี่ยวกับการสมรส (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: สถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
8. มหาวิทยาลัยมหิดล. ประชากรของประเทศไทย. (Online). เข้าถึงได้จาก: http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/Gazette.aspx. 2562.
9. มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ. สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย (ด้านประชากร). (Online). เข้าถึงได้จาก: https://fopdev.or.th/สถารการณ์ผู้สูงอายุในป/. 2558.
10. โรเจอร์. ประวัติเว็บเด็กดี. (Online). เข้าถึงได้จาก https://www.dek-d.com/board/view/1500523/. 2552.
11. วรวุฒิ อ่อนน่วม. (2555). ปรากฎการณ์ทางการสื่อสารยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 18 (2): 212-220.
12. วิลาส ฉ่ำเลิศวัฒน์ และคณะ. (2559). re: digital การตลาดยุคใหม่ เจาะใจลูกค้า. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
13. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. ETDA เผยผลสำรวจ IUB 63 คนไทยใช้เน็ตปังไม่ไหว เกือบครึ่งวัน โควิด-19 มีส่วน. (Online). เข้าถึงได้จาก: https://www.etda.or.th/th/newsevents/pr-news/ETDA-released-IUB-2020.aspx. 2564.
14. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2551). ผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว. ในการประชุมเวทีระดมความเห็นต่อประเด็นนโยบายเรื่อง “ระบบการดูแลและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ”. การประชุมจัดโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,ศูนย์การประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร.
15. อภิศิลป์ ตรุงกานนท์. ทำไมเว็บ Pantip ถึงใช้พื้นหลังสีม่วง?. (Online). เข้าถึงได้จาก: http://macroart.net /2013/10/why-pantip-background-is-violet/. 2559.
16. Court, D., Elzinga, D,, Mulder, S. and Vetvik, O. The Consumer Decision Journey. (Online).Available: https://www.mckinsey.com/business-functions/marketing-and-sales/our-insights/the-consumer-decision-journey. 2017.
17. Deuze, M. (2003). The Web and It’s Journalism: Considering the Consequence of Different Types of News Media online. New Media & Society Journal, 5 (34): 203-230.
18. JobsDB. เส้นทางอาชีพ “Content Writer” และกลยุทธ์อัพเงินเดือน. (Online). Available: https://th.jobsdb. com/th-th/articles/content-writer-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD/. 2562.
19. Morgan, D.L. (1995). Why things (sometimes) go wrong in focus group. Qualitative Health Research, 5 (4): 516-523.
20. Newman, Nic. (2009). The Rise of Social Media and Its Impact on Mainstream Journalism.University of Oxford: Reuters Institute for the Study of Journalism.
21. Skoler, M. (2009) Why the News Media Became Irrelevant-And How Social Media Can Help.Nieman Reports (Fall), 3 (10): 38-40.
22. Smart SME. พฤติกรรมการรับข่าวสารผ่านสื่อต่างๆของคนแต่ละ Gen. (Online). เข้าถึงได้จาก: https://www.smartsme.co.th/content/54256. 2559.
23. Strauss A., Corbin, J. (1990). Basic of Qualitative Research. Grounded Theory Procedures and Techniques. Newbury Park, USA: Stage Publishing Company.
24. Wikipedia. Yahoo! Answer!. (Online). Available: https://en.wikipedia.org/wiki/Yahoo!_Answers#:~:text=The%20slogan%20%22The%20world's%20leading,15%20million%20users%20visiting%20
daily.https://en.wikipedia.org/wiki/2channel. 2021.
25. Young., A. (2010). Brand Media Strategy, Integrated Communications Planning in the Digital Era. New York: Palgrave Macmillan.
26. Weckesser., S. 20 Facts about Craigslist, the world’s community bulletin board. (Online).Available: https://bluewatercredit.com/20-facts-craigslist-worlds-community-bulletin-board/#: ~:text=Fast%20forward%2020%20years%20from,2%20million%20are%20job%20listings. 2021.