การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม สำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม.เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ใน 5 ด้าน.ประกอบด้วย 1)ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2)ด้านการคัดกรองนักเรียน
3)ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน 4) ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา และ 5)ด้านการส่งต่อนักเรียน.ประชากรที่ใช้ใน
การวิจัย.ได้แก่ ครูโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม.จำนวน.81.คน.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า
5.ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.986 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่.ค่าร้อยละ.ค่าเฉลี่ย.และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม เขตภาษีเจริญ
กรุงเทพมหานคร พบว่า.โดยรวมทั้ง.5.ด้าน.อยู่ในระดับมาก.เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า.ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน
มีค่าเฉลี่ยสูงสุด.รองลงมาคือ.ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล.ส่วนด้านการป้องกันและแก้ปัญหา.มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด
Article Details
References
2. ชุติมา ถาวรแก้ว. (2559). การดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตนักเรียนของสถานศึกษาในจังหวัดปทุมธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4(ปทุมธานี-สระบุรี). วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
3. ธนาภรณ์ วงค์คำลือ. (2562). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียน ในเขตคุณภาพกบินทร์บุรี 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
4. นฤมล กอบแก้ว. (2559). ปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
5. บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.
6. ปรมาภรณ์ สนธิ. (2560). แนวทางการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนระดับประถมศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี.วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
7. พรศักดิ์ ผกากรอง. (2562). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ในจังหวัดสุราษฎรธานี. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
8. ศรินธร มีเพียร. (2559). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนศรียาภัยอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
9. สันติสุข สันติศาสนสุข. (2552). องค์ความรู้ เรื่องระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. วารสารวิชาการ.12(1), 86-67.
10. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
11. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิก.
12. สุธิดา พงษ์สวัสดิ์. (2561). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี.การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร.
13. สุนิสา มาสุข. (2560). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
14. สุภัสสร สุริยะ. (2562). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม.
15. อรุจิวัฒน์ วิระคำ. (2559). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
16. Cronbach L. J. (1990). Essentials of psychological testing (3rd ed.). New York: Harper & Collins.