หนึ่งศตวรรษแห่งการพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน
และเพื่อวิเคราะห์แนวโน้มของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทยในอนาคตโดยมีวิธีการวิจัยเชิงเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและเอกสารทุติยภูมิ โดยจำแนกพัฒนาการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเป็นยุคต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่าห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทยแบ่งออกเป็น 5 ยุค ได้แก่ 1. ยุคห้องเก็บหนังสือ (พ.ศ. 2459-2524) 2. ยุคห้องสมุดอัตโนมัติ (พ.ศ. 2524-2535) 3. ยุคอินเทอร์เน็ตเปลี่ยนโลก (พ.ศ. 2535-2552) 4. ยุคเครือข่าย
ความร่วมมือ (พ.ศ. 2539-2564) และ 5. ยุคแบ่งปันความรู้สู่ชุมชน (พ.ศ.2564-ปัจจุบัน) ยุคที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและพลิกโฉมห้องสมุดไปจากเดิมมากที่สุด ได้แก่ ยุคอินเทอร์เน็ตเปลี่ยนโลก เนื่องจากมีเทคโนโลยีที่สามารถเชื่อมโยงถึงผู้ใช้บริการได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทยต้องมีการปรับตัวเป็นอย่างมากตามพฤติกรรมของผู้ใช้บริการที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่เพียงปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการที่เป็นนักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลัยเท่านั้นยังต้องตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนอีกด้วยเพื่อความดำรงอยู่ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเนื่องจากลูกค้าในอนาคตของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยจะไม่จำกัดอยู่แค่นักศึกษาและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแต่จะขยายออกไปสู่ชุมชนด้วย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กนกกร กมลเพ็ชร และวีรฉัตร สุปัญโญ. (2563). ภาพปัจจุบันของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ. 13 (มกราคม-มิถุนายน): 80-95.
กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. แนวทางและหลักเกณฑ์การเปิดสถานที่ทำการของสถาบันอุดมศึกษา. [online]. เข้าถึงได้จาก file:///C:/Users/Nisa chon/Down loads/05%20Agenda%203.4%20Guidelines%20n%20criteria-open%20(%E0%B8% AA%E0%B8%9B.).pdf. 2564.
ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค. ธรรมนูญข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค. [online]. เข้าถึงได้จาก https://www.pulinet.org/about/. 2566.
งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ห้องสมุดไทยสมัยรัตนโกสินทร์. [online]. เข้าถึงได้จาก https://stang.sc.mahidol. ac.th/book fair/Oldweb/Article003part6.htm. 2552.
จันทร์เพ็ญ กล่อมใจขาว. (2550). ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ได้รับการสนับสนุนจากสกอ. [online]. เข้าถึงได้จาก http://www.snc. lib.su.ac.th/snclibblog/?p=49920. 2550
จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์. (2561). โหล: 12 ปี ที เค พาร์ค สารพัน เรื่องราว หลากหลายความคิดว่าด้วย การเรียนรู้ พื้นที่การเรียนรู้ และนวัตกรรมห้องสมุด. วารสารสารสนเทศ. 17 (มกราคม-มิถุนายน): 223-228.
ฉันทนา บุญชู. ปัจจัยที่เอื้อต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของลูกจ้างโรงพยาบาลนครปฐม. [online]. เข้าถึงได้จาก https://journal.oas. psu.ac.th/index.php/asj/article/view/703/687. 2557.
ดำรงค์ กันธิมูล. (2549). การพัฒนาองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์. (2534). หลักบรรณารักษศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
นวรัตน์ โพธิ์เขียว และจุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์. (2563). ความต้องการบริการพื้นที่การเรียนรู้ของผู้ใช้บริการสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. 13 (มกราคม-มิถุนายน): 38-38.
บัญชร แก้วส่อง. (2545). องค์การ: การจัดการและการพัฒนา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: อักษราพิพัฒน์.
ประวัติระบบห้องสมุดอัตโนมัติในประเทศไทย. [online]. เข้าถึงได้จาก http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~vduangna/lec04.pdf. ม.ป.ป.
ภัทรวดี ชวนบุญ. (2555). การพัฒนาศักยภาพองค์การเพื่อความเป็นเลิศของเทศบาลนครอ้อมน้อย จ. สมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหิดล.
มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร. ประเภทของห้องสมุด. [online]. เข้าถึงได้จาก https://saranukrom thai.or.th/sub/book/book.php?book=12&chap=2&page=t12-2-infodetail10.html. 2566.
รัญจวน อินทรกำแหง. (2520). การใช้ห้องสมุด. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ราชบัณฑิตสถาน. (2538). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2538. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
รุจิเรขา วิทยาวุฑฒิกุล. (2552). การจัดการความรู้ : ประสบการณ์ของห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข. โดมทัศน์. 30 (กรกฎาคม-ธันวาคม). 3-9.
วิเชียร มันแหล่ และธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2563). การพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยสู่ห้องสมุดอัจฉริยะ. วารสารนาคบุตรปริทรรศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 12 (มกราคม-เมษายน): 212-219.
วีระชัย อินทรอนันต์. (2558). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และผลกระทบต่อห้องสมุดมหาวิทยาลัยในจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
ศิริกาญจน์ โพธิ์เขียว. (2561). เทคโนโลยีเว็บสู่ห้องสมุดมหาวิทยาลัย 4.0. วารสารสารสนเทศ. 17 (กรกฎาคม -ธันวาคม): 9-22.
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, Telecom Journal. 1 ทศวรรษ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย. [online]. เข้าถึงได้จาก https://oer.learn.in.th/search_detail/result/177072. 2563.
สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา. โครงการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา. [online]. เข้าถึงได้จากhttps://www.uni.net.th/about-uninet/. 2566.
สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. สถิติอุดมศึกษา. นักศึกษา บุคลากร และสถานศึกษา. เข้าถึงได้จาก http://www.info.mua.go.th/info/. 2563.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS). [online]. เข้าถึงได้จาก https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/thailis-thai-library-integrated-system/. 2561.
สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. (2521). การใช้บริการห้องสมุดและการเขียนรายงานการค้นคว้า. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
สุบิน ไชยยะ. (2559). กลยุทธ์การบริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภารักษ์ จูตระกูล. (2559). ครอบครัวกับการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital Literacy) ของดิจิทัลเนทีฟ (Digital Natives). วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 11 (มกราคม-มิถุนายน): 132-151.
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยรังสิต. ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (อพส.). [online]. เข้าถึงได้จากhttps://library.rsu.ac.th/seminar30/. 2558.
อุไรลดา ชูพุทธพงษ์, ชลิตา คำหอม และ รัชดาพร บุญไมตรี. (2561). การจัดการเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน. รมยสาร. 16 (มกราคม-เมษายน): 138-140.
Andrews, C., Wright, S. E., & Raskin, H. (2016). Library learning spaces: Investigating libraries and investing in student feedback. Journal of Library Administration. 56 (December): 647-672.
Bennis, W. G. (1969). Organization Development: Its Nature, Origins and Prospects. Mass: Addison-Wesley.
Casey, M. E., & Savastinuk, L. C. Library 2.0: Service for the next-generation library. [online]. available : http://lj.libraryjournal.com/2010/05/technology/library-2-0/#_. 2006.
Fordyce, J. K., & Weil, R. (1971). Managing with people; a manager's handbook of organization development methods. Reading. Mass: Addison-Wesley.
Miller, P. Web 2.0: Building the new library. [online]. available : http://www.ariadne.ac.uk/issue45/miller#2. 2005.
Stephens, M., & Collins, M. (2007). Web 2.0, library 2.0, and the hyperlinked library. Serials Review. 33 (July): 253-256.