การพัฒนาบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมภาระงาน สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ก่อนและหลัง 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมภาระงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จำนวน 56 คน ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 แผน แผนละ 3 ชั่วโมง 2) บทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมภาระงาน จำนวน 8 บท 3) แบบทดสอบความสามารถด้านไวยากรณ์ จำนวน 40 ข้อ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าทดสอบที (t-test)
ผลการวิจัยพบว่า
1) คะแนนความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน (=28.10, S.D.=2.99) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2) ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมภาระงานในภาพรวม พบว่า ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ มีความคิดเห็นในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.79) ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมภาระงาน มีความคิดเห็นในระดับมาก (
=4.38, S.D. = 0.70)
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กาโสม หมาดเด็น. (2559). ความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและจัดการเรียนการสอนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ). สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชนกนันท์ เกตุดี. (2565). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ภาระงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟังและพูดภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัญจพร ธนาวชิรานันท์ และวิลาสินี พลอยเลื่อมแสง. (2561). การใช้วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปลและการประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 14(1), 191 - 203.
พรวิภา หล่อสุเมธ. (2560). การศึกษาเชิงสำรวจเกี่ยวกับทัศนคติต่อการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนไทย. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษเชิงอาชีพเพื่อการสื่อสารนานาชาติ) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. [online]. เข้าถึงได้จาก:https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:139779
แพรไหม คำดวง. (2562). การสอนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เพียงจันทร์ โมฟเฟ็ทท์ (2564). การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษเชิงวิชาการแบบเน้นภาระงาน บูรณาการกับกลวิธีการอ่านอย่างมีวิจารณญาณและกลวิธีการตั้งคำถามผู้เขียน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี.วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 16(2), 17-30.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9 นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ยาวารี สะอีดี และนิสากร จารุมณี. (2563). ผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและความเห็นต่อการเรียนไวยากรณ์แบบที่มีครูเป็นศูนย์กลางและการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 15(3), 319-327. [online]. เข้าถึงได้จาก : https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yru_human /article/view/245471. 2565.
สุพรรณี อาศัยราชและนันทวดี วงษ์เสถียร. (2557). การพัฒนาบทเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานโดยใช้เอกสารจริงด้านสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา. [online]. เข้าถึงได้จาก : http://research.rmu tsb.ac.th/fullpaper/2557 /2557239875628.pdf. 2565.
Ahmed, R. and Bidin, S. (2016) The Effect of Task Based Language Teaching on Writing Skills of EFL Learners in Malaysia. Open Journal of Modern Linguistics, 6(3), 207-218. [online]. Available :https://www.scirp. org/journal/paperinformation?paperid=67180. 2022.
Blum, M. L., & Naylor, J. C. (1996). Industrial Psychology. New York: Hapers Row Publishers
De Wet, C. (2002). Factors influencing the choice of English as language of learning and teaching (LoLT)-A South African perspective. South African Journal of Education, 22(2), 119-124. [online]. Available : https://www.ajol.info/index.php/saje/article/view/25118. 2022.
Education First (EF). (2022). EF English proficiency index. [online]. Available :https://www.ef.com/assetscdn/WIBIwq6RdJvcD 9bc8RMd/cefcom-epi-site/reports/2022/ef-epi-2022-english.pdf. 2022.
Ellis, R. (2003). Task-based Language Learning and Teaching. Oxford University Press, Oxford, UK
Estaire, S. and Zanon, J. (1994). Planning Classwork: A Task-Based Approach, Oxford: Macmillan Heinemann.
Harmer, J. (1987). Teaching and Learning Grammar. New York: Longman Inc.
Harmer, J. (2007). How to Teach English. Harlow: Pearson Longman.
Izadpanah, S. (2010). A Study on Task-Based Language Teaching: From theory to practice. US-China Foreign Language, 8(3), 47-56.
Krashen, S. (2003). Explorations in Language Acquisition and Use: The Taipei Lectures. Portsmouth, NH: Heinemann.
Larsen-Freeman, D. (2003). Teaching Language: From Grammar to Grammaring. Boston, MA: Heinle & Heinle Publishers
Morelli, J. A. (2003). Ninth graders’ attitudes toward different approaches to grammar instruction. [Unpublished dissertation]. The graduate school of education, Fordham University, New York.
Nunan, D. (2004). Task-based language teaching. Cambridge: Cambridge University Press.
Peirce, B.N. (1989). Toward a pedagogy of possibility in the teaching of English internationally: People’s English in South Africa. TESOL Quarterly, 23(3), 401-420.
Pietri, Jean Marc N. (2015). The Effects of Task-Based Learning on Thai Students’ Skills and Motivation. ASEAN Journal of Management & Innovation, 2(1), 72
Ran, H. (2013) Task-Based Language Teaching: Responses from Chinese Teachers of English. The Electronic Journal for English as a Second Language, 16(4), 1-21
St. Jumaida M. (2018). Improving Students’ Grammar Ability by Using Board Game at the Eight Grade of SMP Negeri 4 Malangke Barat. Thesis. English Study Program Tarbiyah and Teachers Training, Faculty State Islamic Institute of Palopo.
Swan, M. (2005). Practical English Usage (3rd ed.). Oxford University Press.
Thornbury, S. (2001). How to teach grammar. (3rd. ed.). Malaysia: Pearson Limited
Willis, J. (2000). A Framework for Task-Based Learning. Longman Handbook: Oxford.
Willis, D. & Willis, J. (2007). Doing Task – Based Teaching. New York: Oxford University Press.
Yunus, M. , Abdollah and Hudriati, A. (2020). Development of Basic English Grammar Teaching Materials
Based on Situational Approach in English Language Education Study Program of Universitas Muslim Indonesia. ELT Worldwide, (7)2, 162-171