การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ 2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ และ 3) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันตัวบ่งชี้คุณลักษณะบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากร คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2562ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนในเขต 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 85,626 คน และกลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มจากประชากร 1,296 คน ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ จำนวน 423 คน และใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน จำนวน 873 คนโดยการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบวัดบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชนิดแบบประเมินค่า 5 ระดับ จำนวน 32 ข้อ ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวบ่งชี้คุณลักษณะบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวกประกอบด้วย 11 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจในการสกัดองค์ประกอบได้ 1 องค์ประกอบที่มีค่าEigenvalues มากกว่า1 ค่าร้อยละของความแปรปรวนมีค่า 63.468 %และ3) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่า Chi-square = 40.038, df = 2, p-value = 0.0508, RMSEA = 0.024, CFI = 0.998, TLI = 0.996
Article Details
References
2.พรรณณี ช.เจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: คอมแพคท์พริ้นท์.
3.วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
4.สันติ บุญภิรมย์. (2557). การบริหารจัดการในห้องเรียน (Classroom Managemant). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
5.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
6.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (2531). แนวทางในการดำเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนเอกชน. กรุงเทพฯ: หน่วยงานศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน.
7.Frisby, B., Martin, M. (2010), Instructor-student and student-student rapport in the classroom. Communication Education, 59(2), pp. 146-164.
8.Glasser, W. (1998). Choice theory: A new psychology of personal freedom. New York, NY: Harper.
9.Hamre, B. K., & Pianta, R. C. (2007). Learning opportunities in preschool and early elementary classrooms. In R. C. Pianta, M. J. Cox, & K. L.Snow (Eds.), School readiness and the transition to kindergarten in the era of accountability (pp. 49 –83). Baltimore, MD: Paul H. Brookes Publishing.
10.Hinze, S. R., & Wiley, J. (2013). Physical arrangement of the classroom environment. In Njabulo Sithole (2017). Promotion A Positive Learning Environment: School Setting Investigation. (Master dissertation, University of South Africa).
11.Jacobsen, D. A., Eggen, P., & Kauchak, D. (1999). Method for teaching: Promoting student learning. Upper Saddle River, NJ: Merrill/Prentice-Hall.
12.Katharina Sieberer-Nagler. (2015). Effective Classroom-Management & Positive Teaching. Science and Education, 9(1), pp. 163-172.
13.Kim Gulbrandson, Ph.D. (2012). Three Ways to Foster a Positive Classroom Climate. Retrieved September 5, 2019, from https://www.cfchildren.org/blog/2012/08/key-factors-in-creating-a-positive-classroom-climate/
14.Knight.G. (1999). Understanding the leraningenvironment:Applying Psychology in the classroom: David Fulton Publishers.
15.Powell, S.D. (2010). Wayside teaching: Connecting with students to support learning. Thousand Oaks, CA: Corwin Press.
16.Sarah Benes & Holly Alperin. (2016). CHARACTERISTICS OF A POSITIVE LEARNING ENVIRONMENT. Retrieved September 5, 2019, from https://us.humankinetics. com/ blogs/excerpt/characteristics-of-a-positive-learning-environmen