การใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในยุคดิจิทัล ของโรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในยุคดิจิทัลของโรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในยุคดิจิทัล ของโรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยกลุ่มตัวอย่างคือครูและผู้บริหาร จำนวน 32 คน และสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน 4 คน และครู 1 คน รวมทั้งหมด 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในยุคดิจิทัลของโรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริมนักเรียน ด้านป้องกันและแก้ไขปัญหา และด้านการส่งต่อนักเรียน มีการใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) แนวทางการพัฒนาการใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในยุคดิจิทัลของโรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ทุกด้านเสนอแนะทิศทางเดียวกันคือ ให้พัฒนาระบบให้มีความเสถียร เก็บรวบรวมข้อมูลนักเรียนให้ครบถ้วนมากกว่าเดิม ระบบบันทึกทุกกิจกรรมทั้งครูและนักเรียน จะทำให้การปฏิบัติต่าง ๆ รวดเร็ว และประหยัดงบประมาณด้านการใช้กระดาษพิมพ์ แต่ระบบสารสนเทศยังขาดความเสถียรในการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดของนักเรียนที่จะใช้เป็นข้อมูลในการส่งต่อ ส่วนหนึ่งมาจากการขาดความเข้าใจและการใช้งานของระบบสารสนเทศ
Article Details
References
Department of Mental Health. (2003). Khūmư̄ witthayākō̜n rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan chūang nathī sām - sī ( namat yom sưksā pī thī nưng - hok). [Lecturer's Manual, Student Care and Support System, 3rd-4th grade (Middle School Grade 1-6) (In Thai)]. Retrieved November 1, 2019, from https://www.dmh.go.th/ebook/view.asp?id=26.
กรมสุขภาพจิต. (2546). คู่มือวิทยากรระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ช่วงชั้นที่ 3-4 (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6). สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2562, จาก https://www.dmh.go.th/ebook/view.asp?id=26.
Discharoen, N. (2022). Kānphatthanā konlayut kānbō̜rihān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan nai sathān sưksā sangkat samnakngān khēt phư̄nthī kānsưksā prathom sưksā Rayō̜ng khēt nưng. [Strategic Development of the Management of Student Support System in Schools under Rayong Primary Educational Service Area Office]. Journal of Arts Management, 6(2), 844-862.
นัฏพันธ์ ดิศเจริญ. (2565). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา. วารสารศิลปการจัดการ, 6(2), 844-862.
Laojinda, W. (2016). Saphāp kāndamnœ̄n ngān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan nai rōngrīan sangkat samnakngān khēt phư̄nthī kānsưksā matthayommasưksā khēt sāmsipsō̜ng. [State of Problems on Students Counseling System Imprementation at Schools under the Secondary Educational Service Area Office 32]. (Master’s Thesis, Educational Administration, Buriram Rajabhat University).
วราวุฒิ เหล่าจินดา. (2559). สภาพการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์).
Mae Tuen Wittayakom School. (2011). Rāingān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan. [Student Care and Support System Report.(In Thai)]. Chiang Mai: School.
โรงเรียนแม่ตื่นวิทยาคม. (2554). รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. เชียงใหม่: โรงเรียน.
Ministry of Education. (2016). Kānphatthanā rabop dūlǣ chūailư̄a. [Development of Student–care Management System. (In Thai)]. Bangkok : The Agricultural Co-operative Federation of Thailand.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
Phakpho, P, Phumiphan, P., Thitithananan T. (2015). Kānsưksā kāndamnœ̄n ngān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan khō̜ng sathān sưksā sangkat samnakngān khēt phư̄nthī matthayommasưksā khēt sāmsipʻet. [Study of Operating of Student Caring and Supporting System of the School under Secondary Education Service Area Office 31]. Journal of Humanities and Social Sciences Valaya Alongkorn, 10(3), 191-196.
พรพัฒน์ ภักดิ์โพธิ์, เพชรสุดา ภูมิพันธุ์, ธนวัฒน์ ธิติธนานันท์. (2558). การศึกษาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 31. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3), 191-196.
Pongsawat, S. (2018). Kāndamnœ̄n ngān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan rōngrīan cha ʻam khunying nư̄ang burī. [The Implementation of Student Care and Support System in Cha-Am Khunyingnuengburi School]. (Master’s Thesis, Silpakorn University).
สุธิดา พงษ์สวัสดิ์. (2561). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
Srisa-ard, B. (2017). Kānwičhai bư̄angton. [Introduction to Research. (In Thai) ]. Bangkok: Suweerivasarn.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
Traganthai, J, Ketusiri, A. & Masena, C. (2022). Saphāp kāndamnœ̄n ngān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan nai sathān sưksā yu khō̜di čhi than. [The Implementation of Student Care and Support Systems on Digital Era School in the Secondary Educational Service Area Office Ubon Ratchathani, Amnat Charoen]. SiSaket Rajabhat University Journal, 16(3), 88-104.
จักรพงษ์ ตระการไทย, อธิป เกตุสิริ, และชวนคิด มะเสนะ. (2565). สภาพการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 16(3), 88-104.
Wichairat, N. (2010). Kāndamnœ̄n ngān rabop dūlǣ chūailư̄a nakrīan khō̜ng rōngrīan matthayommasưksā sangkat samnakngān khēt phư̄nthī kānsưksā Mǣ Hō̜ng Sō̜n khēt sō̜ng. [Implementation of Student Care and Support Systems for Secondary Schools under the Mae Hong Son Educational Service Area Office 2]. (Master’s Thesis, Naresuan University).
นงลักษณ์ วิชัยรัตน์. (2553). การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).