การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค STAD เพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

พรพิมล นามา
เกียรติชัย สายตาคำ
ดุษฎี รังษีชัชวาล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทของการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนรังษีวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบร่วมมือร่วมกับวิธี Student Teams Achievement Divisions (STAD) เพื่อพัฒนาความสามารถการอ่านาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ 3) เปรียบเทียบผลการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบร่วมมือกับเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5/4 โรงเรียนรังษีวิทยา  ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 24 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  แบบสอบถามความคิดเห็นต่อบริบทของการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาความสามารถการอ่านเพื่อความเข้าใจ และแบบสัมภาษณ์แบบเชิงลึกต่อบริบทของการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาค่าที การวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการศึกษาบริบทจากการสัมภาษณ์ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา และจากความคิดเห็นพบว่า มีความเหมาะสมระดับมาก 2) ผลการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก 3) ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาความสามารถการอ่าน พบว่ามีค่าสูงขึ้นหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค STAD อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chanmanee, W. (2017). Kānprīapthīap khwāmsāmāt nai kā raʻān čhapčhai khwām khō̜ng nakrīan namat yom sưksā pī thī nưng rawāng kān rīan dūai withīkān sō̜n bǣp rūammư̄ theknik STAD læ withīkān sō̜n bǣp pakati. [Comparison of Reading Comprehension Abilities of Mathayom 1 Students During Learning Using Cooperative Teaching Methods, STAD Techniques, and Normal Teaching Methods]. (Master’s Thesis, Ramkhamheaeng University).

วรางคณา จันทร์มณี. (2560). การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการเรียนด้วยวิธีการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค STAD และวิธีการสอนแบบปกติ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง).

Khemmanee, T. (2017). Sāt kānsō̜n : ʻongkhwāmrū phư̄a kānčhat krabūankān rīanrū thī mī prasitthiphāp. [Pedagogy: Knowledge for Organizing an Effective Learning Process (8th ed.)]. Bangkok: Chulalongkorn University.

ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Khowsa-ard, A. (2018). Kānphatthanā phon samrit thāng kā raʻān čhapčhai khwām læ khunnalaksana čhit sāthārana khō̜ng nak rīan namat yom sưksā pī thī sō̜ng rōngrīan nūan nō̜ra dit witthayākhom ratchamangkhalāphisēk thī čhatkān rīanrū bǣp rūammư̄ dūai theknik STAD. [The Development of Learning Achievement on Reading for Main Ideas and Public Mind of Eight Grade Students at Nuannorradit Wittayakom Rachamungkalaphisek School by STAD Cooperative Learning Method]. Veridian E-Journal, 6(2), 250-258.

อดิศร ขาวสะอาด. (2556). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านจับใจความและคุณลักษณะจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนวลนรดิศวิทยาคม รัชมังคลาภิเษกที่จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD. วารสารวิชาการ Veridin E-Journal, 6(2), 250-258.

Ministry of Education. (2008). laksūt kǣn klāng kānsưksā naphư̄n thān Phutthasakkarāt 2551. [Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008)]. Bangkok: Ministry of Education.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

Nilrat, W. (2018). Phon kānčhatkān rīanrū bǣp rūammư̄ dōi chai theknik STAD rō̜wō̜ bok ra būan kān kǣ panhā tām nǣokhit khō̜ng phō lō̜ yā (Polya) rư̄ang ʻattrāsūan trīkōnmiti thī mī tō̜ phon samrit thāngkān rīan khō̜ng nak rīan namat yom sưksā pī thī hā rōngrīan sūan kulāp witthayālai Thon Burī. [Results of Cooperative Learning Management with STAD Technique and the Process to Solve Problems According to the Concept of Polya Trigonometric Ratios Affecting the Academic Achievement of Mathayom 5 Students at Suankularb Wittayalai Thanburi School]. Bangkok: Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education.

วรัญญา นิลรัตน์. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา (Polya) เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยธนบุรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

Rangsree Vittaya School. (2021). Prakan khunnaphāp phāinai sathān sưksā rōngrīan rang sī witthayā Phō̜.Sō̜. 2564. [Internal Quality Assurance Rangsee Vittaya School 2021]. Chaingmai: Rangsree Vittaya School.

โรงเรียนรังษีวิทยา. (2564). ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนรังษีวิทยา พ.ศ.2564. เชียงใหม่: โรงเรียนรังษีวิทยา

Senatham, S. (2021). Kānphatthanā thaksa kā raʻā naphā sā ʻAngkrit phư̄a khwāmkhaočhai dōi kānčhatkān rīan bǣp rūammư̄ theknik STAD khō̜ng nak rīan chan prathom sưksā pī thī 6. [The Development of English Reading Comprehension Skill by Using Student Teams Achievement Division for Grade 6 Students]. (Master’s Thesis, Naresuan University).

โศภิตา เสนาธรรม. (2564). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยการจัดการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).

Slavin, R. E. (1987). Educational Leadership: Cooperative Learning and Cooperative School. Educational Leadership, 45(3), 7-13.

Sripiyarat, W. & Thieamthan, P. (2018). Phon kānčhatkān rīanrū bǣp rūammư̄ dūai theknik ʻē sō̜ thī ʻē dī thī mī tō̜ khwāmsāmāt nai kā raʻān phư̄a khwām khaočhai tō̜ ʻakān rīan wichā phāsā Čhīn khō̜ng nak rīan namat yom sưksā pī thī 1. [The Effects of STAD Cooperative Learning on Chinese Reading Comprehension for Chinese Subject of Mathayomsuksa 1 Students]. (Master’s Thesis, Thesis Nakhon Sawan Rajabhat University).

วนัทดา ศรีปิยะรัต และพรรณราย เทียมทัน. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคเอสทีเอดี ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจต่อการเรียนวิชาภาษาจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์).

Suthikornkamol, W. (2016). Phon khō̜ng kānčhat kitčhakam bǣp klum rūammư̄ dūai theknik STAD phư̄a kānphatthanā kā raʻān čhapčhai khwām phāsā ʻAngkrit phư̄a thurakit kānthō̜ngthīeo læ kān rōngrǣm. [The Effects of Using STAD Cooperative Learning Activities to Promote the English Reading Comprehension for Hotel and Tourism]. (Master’s Thesis, Dhurakij Pundit University).

วัชรีพร สุทธิกรกมล. (2559). ผลของการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค STAD เพื่อการพัฒนาการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).

Sutthirat, C. (2015). Pǣtsip nawattakam kānčhatkān rīanrū thī nēn phū rīan pen samkhan. [80 Innovations Learning Management that Focus on Child-Centered Learning (6th ed.)]. Nonthaburi: P Balans Design and Printing.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2558). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: พีบาลานซ์ดีไซต์แอนปริ้นติ้ง.

Triprathum, S. Janghan, S. & Silapanilamarn, A. (2015). kānphatthanā thaksa kā raʻān phāsā ʻAngkrit phư̄a khwāmkhaočhai dūai kitčhakam bǣp klum rūammư̄ theknik STAD rō̜wō̜ makap bǣp fưk thaksa kā raʻān samrap nak rīan namat yom sưksā pī thī 3. [The Development of English Reading Comprehension Skills Using the STAD Cooperation Technique with Reading Skills Exercise in Mathayomsuksa 3 Students]. Chophayom Journal, 26(1), 183-192.

ศกุนิชญ์ ตรีประทุม, สุรกานต์ จังหาร และอเนก ศิลปนิลมาลย์. (2558). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารช่อพะยอม, 26(1), 183-192.