การจัดการห่วงโซ่แห่งคุณค่าปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน : กรณีศึกษาศูนย์วิจัย และพัฒนาไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Authors

  • ณิชนิตา นามวงค์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Keywords:

การจัดการห่วงโซ่แห่งคุณค่าธุรกิจปุ๋ยหมักไส้เดือนดิน, ศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้, The Value Chain of Earthworm Fertilizer Management, Case Study of Earthworm Research and Development Center of Maejo University

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการห่วงโซ่แห่งคุณค่าปุ๋ยหมักไส้เดือนดิน : กรณีศึกษาศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในมุมมองของผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่แห่งคุณค่าของปุ๋ยหมักไส้เดือนดิน ของศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้

ผู้วิจัยจะทำการศึกษาข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องในห่วงโซ่แห่งคุณค่าของปุ๋ยหมักไส้เดือนดิน ศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประกอบด้วย ผู้ประกอบการศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดิน จำนวน 1 ราย ผู้จำหน่ายปุ๋ยไส้เดือนดิน จำนวน 5 ราย ผู้จำหน่ายวัตถุดิบในการผลิต จำนวน 10 ราย โดยรวบรวมข้อเท็จจริงและข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการสัมภาษณ์ การอธิบายวิธีการดำเนินงานในทุกขั้นตอน ตั้งแต่กิจกรรมหลัก (primary activities) ซึ่งได้แก่ การนำเข้าและจัดเก็บสินค้า การแปรรูปสินค้า การจัดส่งและการบริหารคลังสินค้า การตลาดและการขายสินค้าและการบริการ และกิจกรรมสนับสนุน (support activities) ซึ่งประกอบด้วย การจัดซื้อ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาองค์กร การบริหารบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารโครงสร้างพื้นฐานขององค์

 

Management of Earthworm Fertilizer Value Chain of Earthworm: A Case Study of Earthworm Research and Development Center of Maejo University

This research aims to study management model of model of earthworm fertilizer value chain, using a case study of Maejo university’s Earthworm Research and Development Center, based on perspectives of entrepreneurs and other stakeholders in the value chain model. This would clarify on format and management model of earthworm fertilizer in Maejo university’s Earthworm Research and Development Center.

The study explored information from stakeholders in earthworm fertilizer value chain management of Maejo university’s Earthworm Research and Development Center which consisted of 1 entrepreneur, 5 earthwork fertilizer sellers, and 10 raw material sellers. Facts and information from the interview included explanation of every step in the operation. Primary activities included import and storage of goods, processing of goods, transportation and management of inventory, marketing and sale, and goods and services. Supporting activities included purchasing, utilizing technology in organizational development, human resource management, and management of organizational infrastructure.

Downloads

How to Cite

นามวงค์ ณ. (2017). การจัดการห่วงโซ่แห่งคุณค่าปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน : กรณีศึกษาศูนย์วิจัย และพัฒนาไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้. RMUTL Journal of Business Administration and Liberal Arts, 4(1), 45–52. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/balajhss/article/view/75424