Motivation for Undergraduate Students' studying Chinese to Thai Translation
Main Article Content
Abstract
Motivation is the powers that can be drive students to show their behaviors and actions that can lead them to their goals. Therefore motivation is very important to study all subjects, especially a specialized subject “Chinese to Thai Translation”. A majority of the students encounter problems and obstacles in their studies that make them feel discouraged and easily give up. According to the responsibility in the teaching on Chinese to Thai Translation subject, author found that majority students realized that this subject was very difficult, textbooks and teaching materials were inconsistent with their knowledge level, the classroom environment was not attractive, as well as teachers’ teaching methods was not diverse. These problems caused students lack of motivation to study. So, the author conducts a study on motivation for undergraduate students' studying Chinese to Thai Translation subject. Teachers should create positive attitude to students, make an interesting and different class, provide teaching materials which are consistent with students' knowledge level, in addition, teachers should develop their skills and knowledge to become more proficient. These methods benefit creating a positive attitude toward students, making students more enjoyable and achieving the Chinese to Thai Translation subject’s objectives.
Article Details
References
กฤติยา อริยา, วารีรัตน์ แก้วอุไร และเพ็ญพิศุทธ์ ในสนิท. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สําหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 5(2).
แครอล เอส ดเว็ค (Carol S. Dweck). (2550). เปลี่ยน Mindset...ชีวิตเปลี่ยน. (วิโรจน์ ประสิทธิ์วรนันท์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: อี.ไอ.สแควร์.
จักรแก้ว นามเมือง. (2560). บุคลิกภาพของครูและลักษณะการสอนที่ดี. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ, 2(1), 60-61.
ชณัณกร เพ็ชรวัฒนา. (2559). การแปลของไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารการแปลและการล่าม, 1(1), 25.
ชาญเดช วีรกุล. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับขวัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรสังกัดสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 5 (จังหวัดอุบลราชธานี) (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต). อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ปริยา รินรัตนากร. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 24(46).
นริศ วศินานนท์. (2559). การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารจีนศึกษา, 9(2), 263-264, 272-274.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยระดับ มัธยมศึกษา (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จํากัด.
สุชาดา สุขบำรุงศิลป์. (2553). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนวิศวกรรมแหลมฉบังจังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุริยะ ประทุมรัตน์. (2557). การพัฒนาความมั่นใจในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษาระดับปริญญาตรีโดยใช้รางวัลในการเสริมแรงทางบวก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6(12), 73.
Peng Liting. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 15(28), 27-38.
Maslow. A. A (1943). Theory of human motivation. Psychological Review, N.Y. McGraw-Hill